• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

ทัศนคติของนักศึกษาต่อผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจากการเปิดเสรีในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานสายอาชีพ ICT

by ปภากร อุบลศรี

ชื่อเรื่อง:

ทัศนคติของนักศึกษาต่อผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจากการเปิดเสรีในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานสายอาชีพ ICT

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Attitudes toward effects of the ASEAN Economic Community (AEC) in free flow of skilled labor of ICT career

ผู้แต่ง:

ปภากร อุบลศรี

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

พาชิตชนัต ศิริพานิช

ชื่อปริญญา:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

สถิติประยุกต์

คณะ/หน่วยงาน:

คณะสถิติประยุกต์

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2558

ตัวระบุวัตถุจิจิทัล (ดีโอไอ):

10.14457/NIDA.the.2015.110

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การวิจัยเชิงปริมาณครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทัตนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน (ASEAN) 2) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบ จากการเปิดเสรี ในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานสายอาชีพ ICT 3) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อ ทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการเปิดเสรีในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน สายอาชีพICT ประชากรของการศึกษา คือ นักศึกษาที่ศึกษาระดับปริญญาตรี ใน สถาบันอุดมศึกษาไทยที่ได้รับการจัดระดับโดย QSworld University Rankings ให้เป็น 100 อันดับแรกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 10 สถาบัน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากตัวอย่างขนาด 373 คนโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม หลายขั้น เครื่องมือที่ช้เป็นแบบสอบถามซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรง (Validity) และความ เชื่อถือได้ (Reliability) แล้ว
ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของ สถาบันอุดมศึกษาไทยที่ได้รับการจัดอันดับดังกล่าว มีทัศนคติเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยรวมนักศึกษามีทัศนคติเชิงบวก และมีทัศนคติเกี่ยวกับผลกระทบ จากการเปิดเสรีใน อาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานในสายอาชีพ ICT โดยภาพรวมเห็นด้วยอย่างมาก และผล การศึกษาปัจจัยส่วนยุดคลที่มีผลต่อทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบ จากการเปิดเสรีใน อาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานในสายอาชีพ ICT พบว่าชั้นปีที่นักศึกษากำลังศึกษาอยู่มีผล ต่อทัศนคติของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ได้แก่ เพศ คณะที่ศึกษา ค่าผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา และระดับความรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน ไม่มีผลต่อทัศนคติของนักศึกษา
ข้อเสนอแนะ การศึกษาในปัจจุบันมีผลกระทบโดยตรงต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ภายใต้กรอบอาเซียน ในอนาคตโดยตรง ดังนั้นการศึกษาในประเทศควรมีแนวทางในการสร้าง มาตรฐานวิชาซีพ และให้ความสำคัญในด้านภาษาอังกฤษ เพื่อให้การเปิดเสรีในอาเซียนด้าน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีเพื่อให้ประเทศไทยได้เปรียบมากกว่าประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเซียน

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

หัวเรื่องมาตรฐาน:

การย้ายถิ่นของแรงงาน

คำสำคัญ:

แรงงานสายอาชีพ ICT

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

118 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6122
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b191164.pdf ( 4,044.63 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [224]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×