Show simple item record

dc.contributor.advisorพาชิตชนัต ศิริพานิช
dc.contributor.authorปภากร อุบลศรี
dc.date.accessioned2023-01-04T08:12:09Z
dc.date.available2023-01-04T08:12:09Z
dc.date.issued2015
dc.identifier.otherb191164th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6122
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558th
dc.description.abstractการวิจัยเชิงปริมาณครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทัตนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน (ASEAN) 2) ศึกษาทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบ จากการเปิดเสรี ในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานสายอาชีพ ICT 3) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อ ทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของการเปิดเสรีในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงาน สายอาชีพICT ประชากรของการศึกษา คือ นักศึกษาที่ศึกษาระดับปริญญาตรี ใน สถาบันอุดมศึกษาไทยที่ได้รับการจัดระดับโดย QSworld University Rankings ให้เป็น 100 อันดับแรกของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีอยู่ทั้งสิ้น 10 สถาบัน ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจากตัวอย่างขนาด 373 คนโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม หลายขั้น เครื่องมือที่ช้เป็นแบบสอบถามซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรง (Validity) และความ เชื่อถือได้ (Reliability) แล้วth
dc.description.abstractผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของ สถาบันอุดมศึกษาไทยที่ได้รับการจัดอันดับดังกล่าว มีทัศนคติเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยรวมนักศึกษามีทัศนคติเชิงบวก และมีทัศนคติเกี่ยวกับผลกระทบ จากการเปิดเสรีใน อาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานในสายอาชีพ ICT โดยภาพรวมเห็นด้วยอย่างมาก และผล การศึกษาปัจจัยส่วนยุดคลที่มีผลต่อทัศนคติของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบ จากการเปิดเสรีใน อาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานในสายอาชีพ ICT พบว่าชั้นปีที่นักศึกษากำลังศึกษาอยู่มีผล ต่อทัศนคติของนักศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ ได้แก่ เพศ คณะที่ศึกษา ค่าผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา และระดับความรู้ของนักศึกษาเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน ไม่มีผลต่อทัศนคติของนักศึกษาth
dc.description.abstractข้อเสนอแนะ การศึกษาในปัจจุบันมีผลกระทบโดยตรงต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ภายใต้กรอบอาเซียน ในอนาคตโดยตรง ดังนั้นการศึกษาในประเทศควรมีแนวทางในการสร้าง มาตรฐานวิชาซีพ และให้ความสำคัญในด้านภาษาอังกฤษ เพื่อให้การเปิดเสรีในอาเซียนด้าน การเคลื่อนย้ายแรงงานมีเพื่อให้ประเทศไทยได้เปรียบมากกว่าประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเซียนth
dc.description.provenanceSubmitted by Budsakorn Kaewpitakkan (toomool@gmail.com) on 2023-01-04T08:12:09Z No. of bitstreams: 1 b191164.pdf: 4141705 bytes, checksum: 75a33775518066a27748ddb8dca15b88 (MD5)en
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2023-01-04T08:12:09Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b191164.pdf: 4141705 bytes, checksum: 75a33775518066a27748ddb8dca15b88 (MD5) Previous issue date: 2015en
dc.format.extent118 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectแรงงานสายอาชีพ ICTth
dc.subject.otherการย้ายถิ่นของแรงงานth
dc.titleทัศนคติของนักศึกษาต่อผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจากการเปิดเสรีในอาเซียนด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานสายอาชีพ ICTth
dc.title.alternativeAttitudes toward effects of the ASEAN Economic Community (AEC) in free flow of skilled labor of ICT careerth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.disciplineสถิติประยุกต์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะสถิติประยุกต์th
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2015.110


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record