• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่นวาย

by วรรณธัช ประเสริฐ

Title:

การสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่นวาย

Other title(s):

Communication in buddhism from religious foundation to generation Y buddhists

Author(s):

วรรณธัช ประเสริฐ

Advisor:

บุหงา ชัยสุวรรณ

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2017.85

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยนี้นี้มุ่งศึกษาการสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่น วาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของมูลนิธิทางศาสนาที่ทำการสื่อสารพระพุทธศาสนา ศึกษา กลวิธีการสื่อสารพระพุทธศาสนา ศึกษาการรับรู้การสื่อสารและการมีส่วนร่วมในการสื่อสารพระ พุทธศานาของกลุ่มคนเจเนอเรชั่นวาย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) พร้อมทั้งเก็บข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จาก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบในกระบวนการสื่อสารและกิจกรรม ของหอจดหมายเหตุ พุทธ ทาส อินทปัญโญ กรุงเทพฯ 3 คน กับ เสถียรธรรมสถาน แห่งละ 3 คน รวม 6 คน และการการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) กับกลุ่มคนเจเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ที่เข้าร่วมหรือเคยเข้าร่วม กิจกรรม ของหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ กรุงเทพฯ 2 กลุ่ม ๆ ละ 7 คน และ เสถียรธรรม สถาน จำนวนแห่งละ 2 กลุ่ม ๆ ละ 7 คน รวม 28 คน
ผลการวิจัยพบว่าลักษณะของมูลนิธิทางศาสนาทั้ง 2 แห่ง เป็นสถาบันทางศาสนาที่ไม่ได้หวัง ผลกำไร และยังเป็นสถาบันทางศาสนาที่มีรูปแบบของกิจกรรมที่หลากหลาย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมได้ตามจริตนิสัยของตน โดยทั้ง 2 สถาบันนี้มีการวางแผนงานชัดเจน และมีการวางแผนการใช้สื่อใหม่เข้ามาร่วมในการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายที่คล้ายคลึงกัน รวมถึง กลวิธีการสื่อสารพระพุทธศานาที่ทั้ง 2 สถาบันนำมาประยุกต์ใช้ สื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อกลางใน การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไปสู่ผู้รับสารได้อย่างรวดเร็ว และหนึ่งในกลวิธีที่ใช้ได้ผลคือ การ ใช้สื่อบุคคลในการถ่ายทอดธรรมะแบบปากต่อปาก โดยพระสงฆ์สาวกหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือ น่า เลื่อมใส เป็นผู้ถ่ายทอดธรรมะไปสู่พุทธศาสนิกชนได้อย่างมีประสิทธิผล และสถาบันทางศาสนาทั้ง 2
แห่งยังเปิดโอกาสให้ผู้ที่มาเข้าร่วมกิจกรรมได้แสดงความเห็น สอบถามข้อสงสัยต่าง ๆ ได้ ทำให้มีผล ต่อการตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมทางศาสนา

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

การสื่อสาร
พุทธศานา

Keyword(s):

พุทธศาสนิกชน
เจเนอเรชั่นวาย

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

198 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6128
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b203222.pdf ( 3,599.91 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [179]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×