Show simple item record

dc.contributor.advisorบุหงา ชัยสุวรรณth
dc.contributor.authorวรรณธัช ประเสริฐth
dc.date.accessioned2023-01-10T03:24:43Z
dc.date.available2023-01-10T03:24:43Z
dc.date.issued2017
dc.identifierb203222th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6128
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นี้มุ่งศึกษาการสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่น วาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของมูลนิธิทางศาสนาที่ทำการสื่อสารพระพุทธศาสนา ศึกษา กลวิธีการสื่อสารพระพุทธศาสนา ศึกษาการรับรู้การสื่อสารและการมีส่วนร่วมในการสื่อสารพระ พุทธศานาของกลุ่มคนเจเนอเรชั่นวาย โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) พร้อมทั้งเก็บข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จาก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบในกระบวนการสื่อสารและกิจกรรม ของหอจดหมายเหตุ พุทธ ทาส อินทปัญโญ กรุงเทพฯ 3 คน กับ เสถียรธรรมสถาน แห่งละ 3 คน รวม 6 คน และการการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) กับกลุ่มคนเจเนอเรชั่นวาย (Generation Y) ที่เข้าร่วมหรือเคยเข้าร่วม กิจกรรม ของหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ กรุงเทพฯ 2 กลุ่ม ๆ ละ 7 คน และ เสถียรธรรม สถาน จำนวนแห่งละ 2 กลุ่ม ๆ ละ 7 คน รวม 28 คนth
dc.description.abstractผลการวิจัยพบว่าลักษณะของมูลนิธิทางศาสนาทั้ง 2 แห่ง เป็นสถาบันทางศาสนาที่ไม่ได้หวัง ผลกำไร และยังเป็นสถาบันทางศาสนาที่มีรูปแบบของกิจกรรมที่หลากหลาย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม สามารถเลือกเข้าร่วมกิจกรรมได้ตามจริตนิสัยของตน โดยทั้ง 2 สถาบันนี้มีการวางแผนงานชัดเจน และมีการวางแผนการใช้สื่อใหม่เข้ามาร่วมในการสื่อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายที่คล้ายคลึงกัน รวมถึง กลวิธีการสื่อสารพระพุทธศานาที่ทั้ง 2 สถาบันนำมาประยุกต์ใช้ สื่อสังคมออนไลน์ เป็นสื่อกลางใน การสื่อสารและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารไปสู่ผู้รับสารได้อย่างรวดเร็ว และหนึ่งในกลวิธีที่ใช้ได้ผลคือ การ ใช้สื่อบุคคลในการถ่ายทอดธรรมะแบบปากต่อปาก โดยพระสงฆ์สาวกหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือ น่า เลื่อมใส เป็นผู้ถ่ายทอดธรรมะไปสู่พุทธศาสนิกชนได้อย่างมีประสิทธิผล และสถาบันทางศาสนาทั้ง 2th
dc.description.abstractแห่งยังเปิดโอกาสให้ผู้ที่มาเข้าร่วมกิจกรรมได้แสดงความเห็น สอบถามข้อสงสัยต่าง ๆ ได้ ทำให้มีผล ต่อการตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรม และมีปฏิสัมพันธ์ในกิจกรรมทางศาสนาth
dc.description.provenanceSubmitted by Chitjai Singhapong (chitjai.s@nida.ac.th) on 2023-01-10T03:24:43Z No. of bitstreams: 1 b203222.pdf: 3686308 bytes, checksum: 55e8bb469e8de023be184bd3af04a8bf (MD5)th
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2023-01-10T03:24:43Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b203222.pdf: 3686308 bytes, checksum: 55e8bb469e8de023be184bd3af04a8bf (MD5) Previous issue date: 2017th
dc.format.extent198 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectพุทธศาสนิกชนth
dc.subjectเจเนอเรชั่นวายth
dc.subject.otherการสื่อสารth
dc.subject.otherพุทธศานาth
dc.titleการสื่อสารพุทธศาสนาจากมูลนิธิทางศาสนาสู่พุทธศาสนิกชนเจเนอเรชั่นวายth
dc.title.alternativeCommunication in buddhism from religious foundation to generation Y buddhiststh
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2017.85


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record