• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การนำการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว

by ทิพวัลย์ ด่านบรรจง

Title:

การนำการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว

Other title(s):

The postponement on prosecution by public prosecutor : the study on domestic violence offense

Author(s):

ทิพวัลย์ ด่านบรรจง

Advisor:

วริยา ล้ำเลิศ

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2017.98

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หัวข้อ “การนําการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้น พนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว” มีวัตถุประสงค์หาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม ในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 โดยให้พนักงาน อัยการใช้การชะลอการฟ้อง กรณีความผิดอาญาที่ไม่ร้ายแรงในคดีความผิดด้วยความรุนแรงใน ครอบครัว โดยการนําเสนอแนวทางปรับปรุงกฎหมายในการนําการชะลอการฟ้องมาปรับใช้ในชั้น ชะลอการฟ้องของพนักงานอัยการในคดีความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัว และหาแนวทางปฏิบัติ ในการควบคุมดุลพินิจและเงื่อนไขการชะลอการฟ้องที่เหมาะสม สําหรับผู้กระทําความผิดตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 ในชั้นชะลอการฟ้องของ พนักงานอัยการ จากการศึกษาพบว่า การบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วย ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 ในความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัวบางกรณีไม่อาจยุติลงได้ จึงทําให้พนักงานอัยการมีความจําเป็นต้องฟ้องคดีตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งทําให้มี ปริมาณคดีความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีมากขึ้นโดยไม่จําเป็น และไม่เกิดประโยชน์ต่อ สาธารณะ แนวทางในการแก้ไขปัญหาความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัว ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 มีความจําเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศไทย ต้องมีกระบวนการยุติธรรมทางเลือกอื่น เรียกว่า “การชะลอการฟ้องในชั้นพนักงานอัยการ” มาใช้ เสริมในคดีความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัว เพื่อให้การบังคับใช้ความผิดในพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

ความรุนแรง (กฎหมาย)
กฎหมายครอบครัว

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

161 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6148
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b198265.pdf ( 4,935.86 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [187]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×