CONSTRUCTING A MODEL OF EXHIBITION MOTIVATIONAL ATTRIBUTES, EXHIBITION PARTICIPATION, AND BUSINESS PERFORMANCE: A CASE STUDY OF EXHIBITION BUSINESS IN THAILAND
การสร้างแบบจำลองคุณลักษณะด้านแรงจูงใจในการเข้าร่วมงานแสดงสินค้า การเข้าร่วมงานแสดงสินค้า และผลการดำเนินธุรกิจ: กรณีศึกษาธุรกิจงานแสดงสินค้าในประเทศไทย
by Navaphun Khongsawatkiat; นวพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ; Charoenchai Agmapisarn; เจริญชัย เอกมาไพศาล; National Institute of Development Administration. The Graduate School of Tourism Management
ชื่อเรื่อง: | CONSTRUCTING A MODEL OF EXHIBITION MOTIVATIONAL ATTRIBUTES, EXHIBITION PARTICIPATION, AND BUSINESS PERFORMANCE: A CASE STUDY OF EXHIBITION BUSINESS IN THAILAND การสร้างแบบจำลองคุณลักษณะด้านแรงจูงใจในการเข้าร่วมงานแสดงสินค้า การเข้าร่วมงานแสดงสินค้า และผลการดำเนินธุรกิจ: กรณีศึกษาธุรกิจงานแสดงสินค้าในประเทศไทย |
ผู้ร่วมงาน: | National Institute of Development Administration. The Graduate School of Tourism Management |
ผู้ควบคุมงานวิจัย: | Charoenchai Agmapisarn
เจริญชัย เอกมาไพศาล |
วันที่เผยแพร่: | NaN2023 |
หน่วยงานที่เผยแพร่: | National Institute of Development Administration |
บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ: |
This empirical study aims to identify the dimensions of exhibition motivational attributes and examine the relationship among exhibition motivational attributes, exhibition participation, and business performance from the perspective of exhibitors.
This study used a mixed method approach. Initially, qualitative research was applied, and in-depth interviews with twenty experts in the exhibition industry were conducted. Then quantitative research was utilized. Data were collected using a purposive and convenience sample of 501 exhibitors participating in various exhibitions in Thailand.
The collected data were analyzed using exploratory factor analysis, confirmatory factor analysis, and structural equation modeling. The findings indicate that seven of the eight motivational attribute factors significantly affect exhibition participation and that exhibition participation results in business performance.
Results from this study can provide guidelines to exhibition organizers, convention visitor bureaus, and destination marketers in developing, supporting, and organizing successful exhibitions. Moreover, the findings of this study will serve as a foundation for a new exhibition motivational attribute concept that can be used in further exhibition studies. |
รายละเอียดเพิ่มเติม: |
Doctor of Philosophy (Integrated Tourism and Hospitality Management) (Ph.D.(Integrated Tourism and Hospitality Management)) |
คำสำคัญ: | คุณลักษณะด้านแรงจูงใจในการเข้าร่วมงานแสดงสินค้า การเข้าร่วมงานแสดงสินค้า ผลการดำเนินธุรกิจ
Exhibition motivational attributes Exhibition participation Business performance |
ชนิดของสื่อ: | Dissertation ดุษฎีนิพนธ์ |
ภาษา: | en |
สิทธิในการใช้งาน: | National Institute of Development Administration |
URI: | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6176 |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT) |
|
ดู ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น
|
This item appears in the following Collection(s) |
|
Related items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
ตัวแบบสินค้าคงคลังแบบสองระดับสำหรับสินค้าหลายประเภท : ความต้องการสินค้าทราบค่าแน่นอนและช่วงเวลาที่ต้องสั่งซื้อสินค้าล่วงหน้าก่อนที่จะได้รับสินค้ามีการแจกแจงความน่าจะเป็น
หฤทัย ไทยมณี; วิชิต หล่อจีระชุณห์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011)
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบสินค้าคงคลังอุตตมะ ที่ให้ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อ หน่วยเวลาในการบริหารจัดการสินค้าคงคลังของบริษัท บุญถาวรเซรามิค จำกัด ที่นำมาเป็น กรณีศึกษามีค่าต่ำสุด โดยแบ่งการเปรียบเทียบการบริหารจัดการสินค้าคงคลังเป็น 2 กรณี คือ กรณีที่หนึ่งเป็นกรณีที่บริษัทดำเนินนโยบายการบริหารสินค้าคงคลังแบบรวมความรับผิดชอบ (Centralized Case) โดยใช้ตัวแบบสินค้าคงคลังแบบสองระดับสำหรับสินค้าหลายประเภท (Multi-product Two-echelon Inventory System) ซึ่งเป็นตัวแบบที่สอดคล้องกับลักษณะการดำเนินงานปัจจุบันของบริษัทกรณีศึกษา ข้อได้เปรียบของตัวแบบนี้ ... -
ความคิดเห็นที่มีต่อพริตตี้ในการนำเสนอสินค้าและพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม
ธันย์ชนก โชติกันตะ; พัชนี เชยจรรยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการรับข่าวสารผ่านพริตตี้ของ ผู้ติดตามที่มีลักษณะประชากรแตกต่างกัน 2) ความสัมพันธ์ระหวางพฤติกรรมการรับข่าวสารของ ผู้ติดตามกบความคิดเห็นที่มีต่อการนําเสนอสินค้าของพริตตี้ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม การรับข่าวสารผานพริตตี้กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม 4) ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นที่มีต่อการนําเสนอสินค้าของพริตตี้ กับพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้ติดตาม กลุ่มตัวอย่าง ของการวิจัยนี้ คือ ผู้ที่ติดตามพริตตี้ทั้ งเพศชายและเพศหญิง ที่มีอายุ 15 – 35 ปี ขึ้นไป จํานวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามออ ... -
ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานของพนักงานในธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค: กรณีศึกษาบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร
ชนิกานต์ กระแก้ว; บุษกร วัชรศรีโรจน์ (สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความผูกพันต่อองค์การและความสุขใน การทำงานของพนักงานบริษัทจัดจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) ปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลลักษณะงาน ประสบการณ์ในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อม ของงาน และคุณลักษณะขององค์การที่ศึกษาที่มีผลต่อระดับความผูกพันต่อองค์การและความสุข ในการทำงาน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การและความสุขในการทำงานของ พนักงาน โดยใช้แบบสอบถามในการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง พนักงานบริษัทจัดจ าหน่ายสินค้าอุปโภค บริโภคแห่งหนึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานคร จ านวน 1,565 ชุด ...