Show simple item record

ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมการจำหน่ายเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

dc.contributorPiyaporn Songkiattiwuten
dc.contributorปิยพร ทรงเกียรติวุฒิth
dc.contributor.advisorKiarttiphorn Umpaien
dc.contributor.advisorเกียรติพร อำไพth
dc.contributor.otherNational Institute of Development Administration. The Graduate School of Lawen
dc.date.accessioned2023-01-16T10:20:44Z
dc.date.available2023-01-16T10:20:44Z
dc.date.issued7/1/2023
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6191
dc.descriptionMaster of Laws (LL.M.)en
dc.descriptionนิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.)th
dc.description.abstractThis article mentions purchasing and selling products over the internet (e-commerce) is becoming increasingly popular. The e-commerce businesses are growing quickly, are of greater importance to the economic system and have impact on industries, especially cosmetics industry. The cosmetic e-commerce industry allows small and large enterprises to sell their cosmetic products via  e-commerce. One reason that justifies the popular tendency of cosmetic e-commerce is due to its accessibility and convenience. However, the cosmetic e-commerce poses legal challenges in relation to consumer protection. When damage arises, it is difficult to track and prosecute an enterprise as the authorities have no information concerning to the enterprise. In terms of quality control of cosmetic products sold online, after registering cosmetic products, Thai law authorizes the competent official to randomly inspect the cosmetic products. However, in practice, there is a shortage of competent officials and it is difficult to perform the complete inspection. Therefore, the Author proposes that the competent official is empowered to take part in the cosmetic manufacturing process, or to oblige the enterprises to provide sample products for annual inspection. This thesis studies the guideline on consumer protection in relation to cosmetic e-commerce. It investigates the contemporary issues in the cosmetic e-commerce and examines whether the related laws thereon can address such issues. The thesis also focuses on the registration of enterprise, the protection of cosmetic e-commerce consumer, the consumer protection in advertising and exaggerative statement, the indication of the enterprise on the label of the cosmetic product and the delivery of documents related to the sale of goods to consumers. Moreover, this thesis adopts a comparative approach by studying Thai laws, such as Cosmetic Act B.E. 2558 and Direct Sales and Direct Marketing Act B.E. 2545, with Japanese and South Korean laws on the guideline on cosmetic e-commerce consumer as these countries’ laws are highly regarded for consumer protection in relation to both online and offline channels. Since there are no specific Thai laws that set forth the protection of cosmetic e-commerce consumer, this poses legal problems thereon as follows.en
dc.description.abstractในปัจจุบันการซื้อ-ขายสินค้าผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และเป็นธุรกิจที่ขยายตัวอย่างรวดเร็ว และมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจมากขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจเครื่องสำอางที่มีการจำหน่ายในช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่และรายย่อย เหตุที่การซื้อขายเครื่องสำอางทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ง่ายและสะดวกสบายไม่เสียเวลาเดินทาง แต่การซื้อขายเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กลับพบว่า มีปัญหาในเรื่องของการให้ความคุ้มครองผู้บริโภคในด้านต่าง ๆ เช่น เมื่อเกิดความเสียหายแก่ผู้บริโภคแล้ว ไม่สามารถติดตามตัวผู้ประกอบการมาลงโทษได้ เพราะรัฐไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้ประกอบการเหล่านี้ หรือปัญหาในการควบคุมคุณภาพเครื่องสำอางที่จำหน่ายผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ภายหลังจดแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ซึ่งแม้กฎหมายของประเทศไทยจะกำหนดให้เจ้าหน้าที่สามารถสุ่มตรวจสอบผลิตภัณฑ์เหล่านี้ได้ แต่ในทางปฏิบัติจริงกลับพบว่าไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายกับกรณีดังกล่าวได้เนื่องจากจำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอที่จะปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และการสุ่มตรวจสอบผลิตภัณฑ์ที่มีการจำหน่ายผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นั้นกระทำได้ยาก ดังนั้นผู้เขียนจึงเสนอให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจมีส่วนร่วมในกระบวนการผลิตเครื่องสำอางหรือให้สถานประกอบการส่งผลิตภัณฑ์เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถตรวจสอบผลิตภัณฑ์ได้ทุกปี ผู้เขียนได้ศึกษาแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคที่มีการซื้อเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยศึกษาประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน นำมาพิจารณาว่ากฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจำหน่ายเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถใช้แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงได้หรือไม่ โดยประเด็นที่ได้ศึกษา มีดังนี้ การจดทะเบียนของผู้ประกอบการที่มีการจำหน่ายสินค้าทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การคุ้มครองผู้บริโภคจากการซื้อเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การคุ้มครองผู้บริโภคจากการโฆษณาเครื่องสำอางเกินจริง การรับรู้ข้อมูลของผู้ประกอบการผ่านฉลากเครื่องสำอาง การส่งมอบเอกสารการซื้อขายให้แก่ผู้บริโภค นอกจากนี้ ยังทำการศึกษากฎหมายเชิงเปรียบเทียบกับแนวทางการคุ้มครองผู้บริโภคที่มีการซื้อเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศญี่ปุ่น และกฎหมายของประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งประเทศทั้งสองมีการบัญญัติในเรื่องการคุ้มครองเกี่ยวกับเครื่องสำอางไว้เป็นอย่างดี จนได้รับการยอมรับจากคนทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นจากการจำหน่ายทางช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือช่องทางจำหน่ายอื่น ๆ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศไทยได้แก่ พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 เป็นต้นth
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2023-01-16T10:20:44Z (GMT). No. of bitstreams: 2 5911921022.pdf: 1618230 bytes, checksum: d5aa28b8e933fa3694ec39349ea6e789 (MD5) license.txt: 202 bytes, checksum: b73cf3ce748735a79944aa8bb026b893 (MD5) Previous issue date: 7en
dc.language.isoth
dc.publisherNational Institute of Development Administration
dc.rightsNational Institute of Development Administration
dc.subjectพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectเครื่องสำอางth
dc.subjectพระราชบัญญัติเครื่องสำอางth
dc.subjectพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรงth
dc.subjectcosmeticen
dc.subjectelectronic commerceen
dc.subjectCosmetic Act B.E. 2558en
dc.subjectElectronic Transactions Act B.E. 2544en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleProblems of Law Enforcement in Distribution Controlling of Cosmetic Products via Electronic Commerce en
dc.titleปัญหาการบังคับใช้กฎหมายในการควบคุมการจำหน่ายเครื่องสำอางผ่านช่องทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record