การถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงาน
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
92 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
b203226
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ยุทธนา รังสิตานนท์ (2017). การถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงาน. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6231.
Title
การถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงาน
Alternative Title(s)
Organizational socialization and health promotion behavior in relating to organizational citizenship behavior of working age
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มุ่งศึกษาการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพกาย
สุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้
ประกอบด้วย บุคคลากรวัยทำงานตั้งแต่ระดับปฎิบัติการ ตลอดไปจนถึงระดับหัวหน้างาน จำนวน
392 คน โดยมีอายุตั้งแต่ 16 ปี ถึง 57 ปี ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
(Questionnaire) จำนวน 4 ฉบับ ได้แก่ (1)แบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล (2)แบบสอบถาม
พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ แบ่งเป็น แบบสอบถามการสร้างเสริมสุขภาพทางกายและทางจิต 6
ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ ด้านการออกกำลังกาย ด้านโภชนาการ ด้านสัมพันธภาพ
ระหว่างบุคคล ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ และด้านการขจดัความเครียด (3)แบบสอบถามการ
ถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย 5 ขั้น ได้แก่ 1.ขั้นบรรจุเข้าทำงาน 2.ขั้น
เรียนรู้ 3. ขั้นยอมรับ 4.ขั้นดำรงรักษา 5. ขั้นลาออกและจดจำ (4) แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็น
สมาชิกที่ดีขององค์การ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย 5 ด้าน คือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการ
คำนึงถึงผู้อื่น ด้านความอดทนอดกลั้น ด้านการให้ความร่วมมือ และด้านความสำนึกในหน้าที่
แบบสอบถามฉบับที่ 2 ถึง 4 ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ความเชื่อมนั่น
ของแบบสอบถาม โดยพบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha
coefficients) เท่ากับ .883, .914 และ .891 ตามลำดับ
ผลการวเิคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า (1) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต มีความสัมพนัธ์เชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ(2) การถ่ายทอดทางสังคมใน
องค์การมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต (3) การถ่ายทอดทาง สังคมในองค์การ มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทื่ดีขององค์การ
ผลการศึกษาบ่งชี้บทบาทที่สำคัญ ของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การในการสร้าง พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของ บุคลากรในวัยทำงาน ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีความสัมพันธ์ต่อกัน อีกด้วย การศึกษาครั้งนี้จึง เสนอว่า องค์การควรมุ่งเน้นการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
ผลการวเิคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า (1) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต มีความสัมพนัธ์เชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ(2) การถ่ายทอดทางสังคมใน
องค์การมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต (3) การถ่ายทอดทาง สังคมในองค์การ มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทื่ดีขององค์การ
ผลการศึกษาบ่งชี้บทบาทที่สำคัญ ของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การในการสร้าง พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของ บุคลากรในวัยทำงาน ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีความสัมพันธ์ต่อกัน อีกด้วย การศึกษาครั้งนี้จึง เสนอว่า องค์การควรมุ่งเน้นการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560