• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
  • GSHRD: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
  • GSHRD: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงาน

by ยุทธนา รังสิตานนท์

Title:

การถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงาน

Other title(s):

Organizational socialization and health promotion behavior in relating to organizational citizenship behavior of working age

Author(s):

ยุทธนา รังสิตานนท์

Advisor:

บังอร โสฬส

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ

Degree department:

คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2017.117

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนี้มุ่งศึกษาการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย บุคคลากรวัยทำงานตั้งแต่ระดับปฎิบัติการ ตลอดไปจนถึงระดับหัวหน้างาน จำนวน 392 คน โดยมีอายุตั้งแต่ 16 ปี ถึง 57 ปี ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) จำนวน 4 ฉบับ ได้แก่ (1)แบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล (2)แบบสอบถาม พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ แบ่งเป็น แบบสอบถามการสร้างเสริมสุขภาพทางกายและทางจิต 6 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ ด้านการออกกำลังกาย ด้านโภชนาการ ด้านสัมพันธภาพ ระหว่างบุคคล ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ และด้านการขจดัความเครียด (3)แบบสอบถามการ ถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย 5 ขั้น ได้แก่ 1.ขั้นบรรจุเข้าทำงาน 2.ขั้น เรียนรู้ 3. ขั้นยอมรับ 4.ขั้นดำรงรักษา 5. ขั้นลาออกและจดจำ (4) แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็น สมาชิกที่ดีขององค์การ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย 5 ด้าน คือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการ คำนึงถึงผู้อื่น ด้านความอดทนอดกลั้น ด้านการให้ความร่วมมือ และด้านความสำนึกในหน้าที่ แบบสอบถามฉบับที่ 2 ถึง 4 ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ความเชื่อมนั่น ของแบบสอบถาม โดยพบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficients) เท่ากับ .883, .914 และ .891 ตามลำดับ
ผลการวเิคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า (1) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต มีความสัมพนัธ์เชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ(2) การถ่ายทอดทางสังคมใน
องค์การมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต (3) การถ่ายทอดทาง สังคมในองค์การ มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทื่ดีขององค์การ
ผลการศึกษาบ่งชี้บทบาทที่สำคัญ ของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การในการสร้าง พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของ บุคลากรในวัยทำงาน ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีความสัมพันธ์ต่อกัน อีกด้วย การศึกษาครั้งนี้จึง เสนอว่า องค์การควรมุ่งเน้นการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

การเสริมสร้างสุขภาพ
คุณภาพชีวิตการทำงาน

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

92 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

Rights holder(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6231
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b203226.pdf ( 972.42 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSHRD: Theses [150]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×