• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

by ดวงรัชนี เต็งสกุล

Title:

การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

Other title(s):

Strategic Environment Assessment (SEA) of Special Economic Zone (ZEZ) development strategy, Chiang Saen District, Chiang Rai Province

Author(s):

ดวงรัชนี เต็งสกุล

Advisor:

จำลอง โพธิ์บุญ

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2015

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2015.116

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมิบผลกระทบของแผบยุทธศาสตร์การพัฒณา เขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราช โดยใช้หลักการประเมินสิ่งแวคล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) ประกอบการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเสนอแนวทางป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบที่คาคว่จะเกิดขึ้น โดยการเปรียบเทียบทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์จาก 3 ทางเลือก ได้แก่ ทางเลือกที่ 1 ไม่นำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษไปดำเนินการในพื้นที่ ทางเลือกที่ 2 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 ยุทธศาสตร์มาดำเนินการ และทางเลือกที่ 3 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาคำเนินการทั้งหมด วิธีการศึกษาที่ใช้ ได้แก่ 1) ประเมินลำดับความสำคัญของประเด็นและตัวชี้วัดโดยผู้เชี่ยวชาญด้วยเทคนิคการตัดสินใจตามกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process: AHP) 2) การสัมภายณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) การสังเกตการณ์สภาพพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เพื่อนำข้อมูลมาพิจารณาประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์จากทั้ง 3 ทางเลือก ผลการวิจัข พบว่า ผลรวมระดับผลกระทบ จากทางเลือกที่มีค่าเป็นลบเท่ากับ -0.72 ส่วนทางเลือกที่ 2 มีค่าเป็นบวกเท่ากับ 0.02 และทางเลือกที่3 มีค่าเป็นบวกเท่ากับ 1.06 นั่นคือ การดำเนินการตามทางเลือกที่ 3 หรือดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของพื้นที่อำเภอเชียงแสนทั้งหมด (ร ยุทธศาสตร์ 1I กลยุทธ์ รวม 33 โครงการ) จะส่งผลดีต่อพื้นที่อำเภอเชียงแสนมากกว่าทางเลือกที่ 1 และ ทางเลือกที่ 2 เนื่องจากทางเลือกที่ 3 จะสร้างโอกาสการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ถึงแม้จะมีผลกระทบเชิงลบบางประเด็นในช่วงเริ่มต้นการพัฒนา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคาดการณ์ว่าการพัฒนาดังกล่าวจะส่งผลค้านบวกต่อค้านอาชีพและคุณภาพชีวิตคุณภาพชีวิตของประชาชนมากที่สุดและส่งผลด้านลบต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิสภาพอากาศและคุณภาพอากาศมากที่สุด สำหรับแนวทางในการปรับตัวเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษอำเภอเชียงแสน คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบเชิงลบพร้อมทั้งส่งเสริมผลกระทบเชิงบวกที่อาจจะเกิดขึ้น โดยการสร้างจุดเด่นของชุมชนและควรเน้นกระบานการมีส่วนร่วมของประชาชนประชาสัมพันธ์และเผขแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาเพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการในพื้นที่ได้รับทราบและมีความเข้าใจต่อการพัฒนามากขึ้น

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558

Subject(s):

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม -- การประเมิน
เชียงราย -- ภาวะเศรษฐกิจ
เขตเศรษฐกิจ -- ไทย

Keyword(s):

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

315 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6249
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b191183.pdf ( 8,615.07 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [91]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×