Show simple item record

dc.contributor.advisorจำลอง โพธิ์บุญth
dc.contributor.authorดวงรัชนี เต็งสกุลth
dc.date.accessioned2023-01-24T08:32:55Z
dc.date.available2023-01-24T08:32:55Z
dc.date.issued2015th
dc.identifier.otherb191183th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6249
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558th
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและประเมิบผลกระทบของแผบยุทธศาสตร์การพัฒณา เขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราช โดยใช้หลักการประเมินสิ่งแวคล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) ประกอบการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และเสนอแนวทางป้องกันหรือบรรเทาผลกระทบที่คาคว่จะเกิดขึ้น โดยการเปรียบเทียบทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์จาก 3 ทางเลือก ได้แก่ ทางเลือกที่ 1 ไม่นำยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษไปดำเนินการในพื้นที่ ทางเลือกที่ 2 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 ยุทธศาสตร์มาดำเนินการ และทางเลือกที่ 3 นำยุทธศาสตร์ที่เสนอตามแผนพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษมาคำเนินการทั้งหมด วิธีการศึกษาที่ใช้ ได้แก่ 1) ประเมินลำดับความสำคัญของประเด็นและตัวชี้วัดโดยผู้เชี่ยวชาญด้วยเทคนิคการตัดสินใจตามกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process: AHP) 2) การสัมภายณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3) การสังเกตการณ์สภาพพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เพื่อนำข้อมูลมาพิจารณาประกอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์จากทั้ง 3 ทางเลือก ผลการวิจัข พบว่า ผลรวมระดับผลกระทบ จากทางเลือกที่มีค่าเป็นลบเท่ากับ -0.72 ส่วนทางเลือกที่ 2 มีค่าเป็นบวกเท่ากับ 0.02 และทางเลือกที่3 มีค่าเป็นบวกเท่ากับ 1.06 นั่นคือ การดำเนินการตามทางเลือกที่ 3 หรือดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของพื้นที่อำเภอเชียงแสนทั้งหมด (ร ยุทธศาสตร์ 1I กลยุทธ์ รวม 33 โครงการ) จะส่งผลดีต่อพื้นที่อำเภอเชียงแสนมากกว่าทางเลือกที่ 1 และ ทางเลือกที่ 2 เนื่องจากทางเลือกที่ 3 จะสร้างโอกาสการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมในระยะยาว ถึงแม้จะมีผลกระทบเชิงลบบางประเด็นในช่วงเริ่มต้นการพัฒนา โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียคาดการณ์ว่าการพัฒนาดังกล่าวจะส่งผลค้านบวกต่อค้านอาชีพและคุณภาพชีวิตคุณภาพชีวิตของประชาชนมากที่สุดและส่งผลด้านลบต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิสภาพอากาศและคุณภาพอากาศมากที่สุด สำหรับแนวทางในการปรับตัวเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษอำเภอเชียงแสน คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและบรรเทาผลกระทบเชิงลบพร้อมทั้งส่งเสริมผลกระทบเชิงบวกที่อาจจะเกิดขึ้น โดยการสร้างจุดเด่นของชุมชนและควรเน้นกระบานการมีส่วนร่วมของประชาชนประชาสัมพันธ์และเผขแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาเพื่อให้ประชาชนและผู้ประกอบการในพื้นที่ได้รับทราบและมีความเข้าใจต่อการพัฒนามากขึ้นth
dc.description.provenanceSubmitted by นักศึกษาฝึกงานมหาวิทยาลัยทักษิณ (2566) (บุษกร แก้วพิทักษ์คุณ) (budsak.a@nida.ac.th) on 2023-01-24T08:32:55Z No. of bitstreams: 1 b191183.pdf: 8821833 bytes, checksum: c75b80b7a676ad15fb9b19164553de4d (MD5)en
dc.description.provenanceMade available in DSpace on 2023-01-24T08:32:55Z (GMT). No. of bitstreams: 1 b191183.pdf: 8821833 bytes, checksum: c75b80b7a676ad15fb9b19164553de4d (MD5) Previous issue date: 2015en
dc.format.extent315 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.subjectแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษth
dc.subject.otherสิ่งแวดล้อมth
dc.subject.otherสิ่งแวดล้อม -- การประเมิน
dc.subject.otherเชียงราย -- ภาวะเศรษฐกิจth
dc.subject.otherเขตเศรษฐกิจ -- ไทยth
dc.titleการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายth
dc.title.alternativeStrategic Environment Assessment (SEA) of Special Economic Zone (ZEZ) development strategy, Chiang Saen District, Chiang Rai Provinceth
dc.typeTextth
mods.genreวิทยานิพนธ์th
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
thesis.degree.levelMaster'sth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.departmentคณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อมth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2015.116


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record