อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบองค์กรในกระบวนการยุติธรรม ศึกษากรณีองค์กรตุลาการ
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
184 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191198
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สิริรัตน์ มุลิจันทร์ (2015). อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบองค์กรในกระบวนการยุติธรรม ศึกษากรณีองค์กรตุลาการ. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6255.
Title
อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบองค์กรในกระบวนการยุติธรรม ศึกษากรณีองค์กรตุลาการ
Alternative Title(s)
The ombudsman's jurisdiction in the examination of agencies in the administration of justice, a case study of judicial organization
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
อำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบองค์กรในกระบวนการยุติธรรม ศึกษากรณีองค์กรตุลาการนั้น เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพทางนิติศาสตร์ เน้นการวิจัยเอกสาร เพื่อให้เกิดความชัดเจนในขอบเขตอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตุลาการ โดยไม่ให้การตรวจสอบดังกล่าวกระทบกับความเป็นอิสระของตุลาการในการพิจารณาพากษาอรรถดี แต่มุ่งเน้นให้กิดการถ่วงดุลอำนาจ และการควบคุมตรวจสอบการใช้อ่านเป็นไปตามหลักนิติรัฐ ที่รัฐต้องยอมจำกัดอำนาจของตนเองให้อยู่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายในต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศแถบสแกนดิเนเวียที่เป็นต้นกำเนิดของผู้ตรวจการแผ่นดินกำหนดให้ผู้ตรวจการแผ่นดินมีอำนาจในการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตุลาการได้ เช่น ประเทศสวีเดน ประเทศฟินแลนด์ เป็นต้น ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ให้อำนาจผู้ตรวจการแผ่นดินมีหน้าที่ในการตรวจสอบการละเลยการปฏิบัติหน้าที่หรือปฏิบัติหน้าที่ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายขององค์กรในกระบวนการยุติธรรม ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี ผลการศึกษาจากงานวิจัยนี้ทำให้เกิดความชัดเจนในขอบเขตอำนาจของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตุลาการหรือศาล ผู้เขียนจึงทำการศึกษาถึงโครงสร้าง ขั้นตอน และแนวทางการปฏิบัติงานขององค์กรตุลาการ ในส่วนของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม และศาลทหาร เมื่อวิเคราะห์ตามหลักแนวคิด ทฤษฎีพบว่า ผู้ตรวจการแผ่นดินสามารถตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรตุลาการในส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับงานธุรการทั่วไปของสำนักงานศาล งานธุรการทางคดีซึ่งเป็นงานสนับสนุนด้านกระบวนการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี ทั้งงานธุรการทั่วไปและงานธุรการทางคดีนั้นปฏิบัติโดยข้าราชการเจ้าหน้าที่ของสำนักงานศาล นอกจากนี้ ผู้ตรวจการแผ่นดินยังสามารถตรวจสอบในส่วนของงานบริหารจัดการคดีซึ่งเป็นกระบวนการขั้นตอนที่มิได้เกี่ยวข้องกับการพิจารณาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายแห่งเนื้อหาอรรคคดี ซึ่งเป็นการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาในทางการบริหารงาน รวมถึงขอบเขตอำนาจหน้าที่ของผู้ตรวจการแผ่นดินในการตรวจสอบจริยธรรมของผู้พิพากษาด้วย
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (กฎหมายและการจัดการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558