• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบ

การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาส

by ฐิญาภา เสถียรคมสรไกร

ชื่อเรื่อง:

การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาส

ชื่อเรื่องอื่นๆ:

Tourism activities development for human diversity understanding in underprivileged children

ผู้แต่ง:

ฐิญาภา เสถียรคมสรไกร

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

โชคชัย สุเวชวัฒนกูล

ชื่อปริญญา:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

Master's

สาขาวิชา:

การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ

คณะ/หน่วยงาน:

คณะการจัดการการท่องเที่ยว

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2557

ตัวระบุวัตถุจิจิทัล (ดีโอไอ):

10.14457/NIDA.the.2014.65

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตัถุประสงค์1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อการเสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาส 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาสมีลักษณะเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญประกอบด้วยบุคลากรจากองค์กรด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน ด้านสิทธิมนุษยชน โรงเรียนระดับชั้นมธัยมศึกษาในจังหวัดกรุงเทพฯ และสถานสงเคราะห์เด็กในจังหวัดกรุงเทพฯ ร่วมกับการจัดสนทนากลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญจากองค์กรด้านการท่องเที่ยว ใช้วิธีการวิเคราะห์ขัอมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) เพื่อสรุปเป็นกระบวนการเรียนรู้อันเกิดจากการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาสผลการวิจัยพบว่า กิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับองค์ประกอบที่มีผลต่อการ เสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาสจะอยู่บนพื้นฐานของหลักสิทธิมนุษยชนซึ่งประกอบด้วยประการแรกการเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์มีประเด็นการเรียนรู้คือ1) นับถือตนเอง 2) ไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น 3) ไม่เหยียดหยาม ลดทอนหรือปฏิบัติต่อบุคคลอื่นเสมือนไม่ใช่มนุษย์ประการที่สองความเสมอภาคหรือเท่าเทียม มีประเด็นการเรียนรู้ย่อยคือ1) ไม่เลือกปฏิบัติ2) เปิดใจยอมรับความแตกต่าง 3) ให้โอกาสที่เหมือนกันบน พื้นฐานของความหลากหลาย และประการสุดท้ายความเป็นธรรม มีประเด็นการเรียนรู้ย่อยคือ1)ยึดมั่นในความยุติธรรม 2) มีคุณธรรม 3) เข้าใจและรับผิดชอบในสิทธิและหน้าที่ของตนเอง ทั้งนี้กิจกรรมการท่องเที่ยวที่พัฒนาขึ้นเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในความหลากหลายของมนุษย์ที่มีต่อเด็กด้อยโอกาส มีลักษณะรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงบำเพ็ญประโยชน์ร่วมกับเชิงทัศนศึกษาเป็นกิจกรรมที่สร้างความตระหนักด้านการเรียนรู้ในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นมุ่งเน้นเรื่องการปรับทัศนคติให้เกิดการยอมรับ และเข้าใจในความแตกต่างหลากหลายของคนในสังคม ซึ่งจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวในระยะเวลา 1 วันเขตพื้นที่ท่องเที่ยวอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ได้แก่วัดโพธิ์ นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ โรงพยาบาจุฬาลงกรณ์ และ Dialogue in the dark โดยมีกลุ่มเป้าหมายของกิจกรรม คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและกลุ่มเด็กด้อยโอกาส

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557

หัวเรื่องมาตรฐาน:

การท่องเที่ยว
เด็กด้อยโอกาส
การท่องเที่ยว -- การจัดการ

ประเภททรัพยากร:

วิทยานิพนธ์

ความยาว:

226 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6256
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
  • b191196.pdf ( 2,595.09 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSTM: Theses [129]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×