การบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล
Files
Publisher
Issued Date
2019
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
123 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b208791
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ธงไทย ทองดี (2019). การบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6318.
Title
การบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล
Alternative Title(s)
Mentoring management for government scholarship officers
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับ ทุนรัฐบาล และศึกษาปัจจัยในการบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาลให้ประสบ ความสำเร็จ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ใช้วิธีการเลือก แบบเจาะจง ได้แก่1) ส่วนราชการที่มีการบริหารจัดการพี่เลี้ยงและดำเนินการมาอย่างน้อย 2 ปี 6 ส่วนราชการ จำนวน 6 คน ใช้วิธีเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้ าง (Semi-Structure Interview) และ 2) ส่วนราชการที่เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาการบริหารจัดการพี่เลี้ยง 40 ส่วน ราชการ จำนวน 57 คน ใช้วิธีการประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ในการเก็บข้อมูล นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและสรุปประเด็น ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล แบ่งออกเป็น 3ช่วง ได้แก่ 1) ช่วงเริ่มต้น เป็นช่วงก่อนน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล(น้องเลี้ยง) ไปศึกษา ในต่างประเทศ 2) ช่วงกลาง เป็นช่วงที่น้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล(น้องเลี้ยง) กำลังศึกษาในต่างประเทศ และ 3)ช่วงปลาย เป็นช่วงที่น้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล (น้องเลี้ยง) กลับเข้าทำงานใน ส่วนราชการ สำหรับผลการศึกษาปัจจัยในการบริหารจัดการพี่เลี้ยงและน้องเลี้ยงที่ได้รับทุนรัฐบาล ให้ประสบความสำเร็จ พบว่า มี 7 ปัจจัย ได้แก่1) ระบบงานและวัฒนธรรมองค์กร2) การสนับสนุน ของผู้บริหาร 3)วิธีการพัฒนา 4) การมอบหมายงาน 5) การให้คำปรึกษาและระบบพี่เลี้ยง 6) เส้นทางอาชีพ และ 7) การสร้างแรงจูงใจ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562