• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การรับรู้และกลยุทธ์การใช้งาน Google AdWords ของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร

by ศรัณยู มณีรอด

Title:

การรับรู้และกลยุทธ์การใช้งาน Google AdWords ของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร

Other title(s):

Awareness and strategy of Google AdWords for worker in Bangkok

Author(s):

ศรัณยู มณีรอด

Advisor:

พัชนี เชยจรรยา

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2017.155

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กลยุทธ์การใช้งาน, การรับรู้, ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และการใช่งาน และแนวทางในการใช้งาน Google AdWords ของคนทำงานในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ที่ทำงานอยู่ในกรุงเทพมหานคร มีอายุ 22-60 ปี เนื่องจากเป็นช่วงวัยทำงานมีพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ตความถี่ รวมถึงมีประสบการณ์ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์
ผู้วิจัยแบ่งการวิจัยใช้รูปการวิจัยเป็นงานวิจัยแบบผสม (Mix method) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัยเป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้เกี่ยวข้องด้าน Digital Media จำนวน 10 คน และ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ (Online Questionnaire) จำนวน 200 คน และในการวิเคราะห์ข้อมูลนั้นผู้วิจัยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ (SPSS for Window)
ผลการศึกษาพบว่า 1) กลยุทธ์การใช้งาน Google AdWords ให้ความสำคัญในวัตถุประสงค์ของการใช้งานเครื่องมือแต่ละชนิดเป็นหลัก โดยเครื่องมือแต่ละชนิดของ Google AdWords จะมีลักษณะของการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป 2) ผู้ใช้งานส่วนใหญ่เป็นผู้ที่ทำงานในบริษัทเอกชน มีอายุ 22-35 ปี และเป็นอยู่ที่มีความสนใจในการรับรู้และใช้งาน Google AdWords 3) การทดสอบสมมติฐานพบว่าช่วงวัยที่ต่างกัน มีการรับรู้ Google AdWords ต่างกัน และการรับรู้ประโยชน์มีความสัมพันธ์กับการใช้งาน Google AdWords

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

Google AdWords.

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

133 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6324
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b203292.pdf ( 6,136.83 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [179]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×