การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การพัฒนาเอกชน : ศึกษากรณีองค์การพัฒนาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Publisher
Issued Date
1997
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
169, [18] แผ่น : ภาพประกอบ ; 31 ซม
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
จิตติพงษ์ วศานนท์ (1997). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การพัฒนาเอกชน : ศึกษากรณีองค์การพัฒนาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/659.
Title
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การพัฒนาเอกชน : ศึกษากรณีองค์การพัฒนาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Human resource development in non-government organizations (NGOs) : a case study of NGOs in Bangkok
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาเรื่อง "การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์องค์กรพัฒนาเอกชน " ครั้งนี้ เป็นการสำรวจความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรพัฒนาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร การที่เลือกศึกษาเรื่องนี้เนื่องมาจาก มนุษย์เป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศตามจุดเน้นในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 องค์การพัฒนาเอกชนซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเสริมการทำงานของรัฐ ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมแต่องค์กรพัฒนาเอกชนก็มีปัญหาในองค์กรของตนเอง เช่น การขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ การลาออกของพนักงานและขาดการดำเนินงานอย่างมีระบบระเบียบตามหลักบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น ดังนั้น การศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรพัฒนาเอกชนจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ผลการศึกษาจะเป็นแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรพัฒนาเอกชนต่อไป / วัตถุประสงค์ในการวิจัย / 1. เพื่อศึกษา ความเข้าใจและการให้ความสำคัญ ต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรพัฒนาเอกชน / 2. เพื่อศึกษาป้าหมายและแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรพัฒนาเอกชน / 3. เพื่อศึกษา กิจกรรมและการดำเนินงาน ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ในองค์กรพัฒนาเอกชน / 4. เพื่อเสนอแนวทางในการปรับปรุง องค์กรพัฒนาเอกชนโดยการการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร / วิธีการศึกษาวิจัย / รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ การศึกษาแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ การวิจัยเอกสาร และวิจัยภาคสนาม / ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ องค์กรพัฒนาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครจำแนกขนาดองค์กร ออกเป็น 3 ขนาด คือ องค์กรขนาดเล็ก องค์กรขนาดกลาง องค์กรขนาดใหญ่แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบมีโควตา (Quata Sampling) โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ / เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ โดยที่แบบสอบถาม เป็นแบบกำหนดให้เลือกตอบและแบบปลายเปิดเพื่อให้แสดงความคิดเห็น และใช้แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้างคำถามใช้สำหรับผู้บริหารองค์กร / การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่าง แล้วส่งคืนให้ผู้วิจัยแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยจะสัมภาษณ์เองทั่งหมด / การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรม SPSS วิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาจรฐาน / ผลการศึกษา สรุปได้ดังนี้ / แนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การพัฒนาเอกชน ยังเป็นแนวคิดแบบเดิม คือ เน้นความสำเร็จขององค์กรมากกว่าความสำเร็จของบุคคล
แนวทางทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในหน่วยงาน มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยังขาดความชัดเจน / กิจกรรมและการดำเนินงานใช้วิธีการประชุม สัมมนา การให้คำปรึกษาและการฝึกอบรม การประเมินผล ใช้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นตัวชี้วัดในการดำเนินกิจกรรม และนำผลการประเมินไปใช้เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น / องค์กรพัฒนาเอกชน มีลักษณะองค์กรที่ไม่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง ต้องการการสนับสนุนจากภายนอก ค่อนข้างมาก วิธีการรับการสนับสนุนคือประสานงานเครือข่ายโดยการจัดกิจกรรมร่วมกัน เมื่อจำแนกตามขนาดขององค์กร พบว่า แนวคิด แนวทางและกิจกรรมหลัก ๆ แล้วไม่แตกต่างกัน แต่แตกต่างในรายละเอียด เช่น องค์กรขนาดเล็กให้ความสำคัญกับทัศนคติองค์กรขนาดใหญ่ ให้ความสำคัญกับความสามารถ องค์กรขนาดเล็ก ต้องการการสนับสนุนด้านทักษะเฉพาะและความรู้แต่ละองค์กรขนาดใหญ่ ต้องการเฉพาะด้านทักษะ เป็นต้น
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ / 1. ด้านการบริหารจัดการองค์การ เมื่อองค์การต้องการประสิทธิภาพและเจ้าหน้าที่ไม่ต้องการการควบคุม ดังนั้น แนวทางการประนีประนอมจึงควรใช้ การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance appraisal) เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการ / 2. ด้านแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จากแนวคิดที่ว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งที่ดีแต่ไม่จำเป็น จากสถานการณ์สังคมและความเข้มงวดของเงินทุนจะทำให้องค์การพัฒนาเอกชนเห็นว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งจำเป็น / 3. ด้านแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สามารถทำได้ 2 แนวทาง คือ การจัดกิจกรรมภายในองค์การ ซึ่งต้องเน้นการจัดชุดความรู้และชุดประสบการณ์ขององค์การให้เป็นระบบและการร่วมกิจกรรมภายนอกองค์กร ต้องอาศัยการประสานงานที่ดี / 4. ด้านกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ควรมุ่งเน้นการพัฒนาอาชีพ (Career development) เป็นกิจกรรมหลัก เพื่อกำหนดเป้าหมายการพัฒนาของบุคคลร่วมกับเป้าหมายขององค์การ และองค์การควรเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมอื่น ๆ เพื่อพัฒนาตนเอง.
The study on the topic of "Human Resource Development in Non-Government Organizations [NGOs], its to be surveyed an opinion of the sampling units who are performing their duties at NGOs in Bangkok Metropolitan areas to be against with Human Resource Development [HRD] in Non-Government Organization. The reasons for study of theis topic due to human being, to be an important centre of country development. Regarding to the 8th National Economic and Social Development Plan, its is emphasized an NGOs to be as an important role for implementation of governmental activities and problems solving as well as social development. However, NGOs themselves still have their own internal problems such as lacking for an effective management and administration, resignation of staff and lack of systematic proceeding in accordance with the principle of Human Resource Management [HRM]. In consequence, to study on HRD in NGOs is very important. Results of this study shall be the guide line for improving of HRD in NGOs / The purpose of this study / 1. To study for an understanding and importance of HRD in NGOs. / 2. To study of organizations' goals and guide lines for HRD in NGOs. / 3. To study of activities and proceeding of HRD in NGOs. / 4. To put forward the guide lines of NGOs improving by HRD in NGOs.
The method of this study / - Type of research it is a survey research, devides into two areas as follow ; / - documentary research / - sample survey research - Population and sample such as NGOs in Bangkok Metropolitan areas of which devides into three types such as small, moderate and big orgaizaitons, and carry on sampling procedure with quota sampling together with accidental sampling. / Measuring instrument used in this study was questionnaire and an interview form constructed by researcher and specified the answers with close answer and open answer in order to provide the sampling unit to answer openly, together with an interview form constructed with structure of questions use for the executive organizations / - Collecting data by distribution questionnaire to sampling unit and return back to the researcher but for an interview forms, this forms are used by the researcher / - Data analysing The data were then analyzed by using computer with SPSS program and using frequencies, percentage and standard diviation analysis / The following conclusions were based on the findings of this study ; / Concept ideas of HRD in NGOs still to be an old concept ideas by emphasizing on the success of the organization much more than staff.
Guide line of HRD in NGOs have had its goals of improving to perform its duties and HRD policy still not to be continuous and clear. / Activities and procedure by providing meeting. conference, seminar, counseling, training and evaluating. The effectiveness and efficiency to be an indicator for activity proceeding and the results of evaluation shall be used for improving to perform it duties in effectiveness / NGOs is an dependence orgaization and need more subsidy from external agencies. Subsidy procedures, it shall be co-ordinated and co-operated as the net-works by an activity collaborational arrangement. When classified these orgaization in accordance with its types and found that its concept ideas, guide lines and main activities are not so different from each other in detail such as the small organization shall be gave priority on attitudes, and big organization shall be gave priority on abitlity. Futhermore, small organization needs for implementation on special skill and knowledge, but for big organization needs for only skill.
Recommendation / 1. Management and administration of organization when the organizaiton need for effective and efficient performing, and staff can't want to be controlled, in connection with these matter, compromised guide lines shall be provided wich performance appraisal to be as and important instrument for management and administration / 2. Concept ideas of human resource development regarding to HRD is a good thing but not necessary, more over social situation and strict organization'fund shall be caused NGOs deem tha HRD is necessary. / 3. Guide lines of HRD can be done for two lines as follow ; / - Internal activity arranging which emphasizes on knowledge and experience of organization arrangement to be systematic and activity co-operation outside organization along with good co-operation / HRD activities should be emphasized on career development to be as major activity in order to specify the target for personnel development together with target of organization. Further more, the organization should be provided an opportunity fo staff for co-operation with other supplemental activities in order to oneself development.
แนวทางทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในหน่วยงาน มีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน และนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยังขาดความชัดเจน / กิจกรรมและการดำเนินงานใช้วิธีการประชุม สัมมนา การให้คำปรึกษาและการฝึกอบรม การประเมินผล ใช้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นตัวชี้วัดในการดำเนินกิจกรรม และนำผลการประเมินไปใช้เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้น / องค์กรพัฒนาเอกชน มีลักษณะองค์กรที่ไม่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเอง ต้องการการสนับสนุนจากภายนอก ค่อนข้างมาก วิธีการรับการสนับสนุนคือประสานงานเครือข่ายโดยการจัดกิจกรรมร่วมกัน เมื่อจำแนกตามขนาดขององค์กร พบว่า แนวคิด แนวทางและกิจกรรมหลัก ๆ แล้วไม่แตกต่างกัน แต่แตกต่างในรายละเอียด เช่น องค์กรขนาดเล็กให้ความสำคัญกับทัศนคติองค์กรขนาดใหญ่ ให้ความสำคัญกับความสามารถ องค์กรขนาดเล็ก ต้องการการสนับสนุนด้านทักษะเฉพาะและความรู้แต่ละองค์กรขนาดใหญ่ ต้องการเฉพาะด้านทักษะ เป็นต้น
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ / 1. ด้านการบริหารจัดการองค์การ เมื่อองค์การต้องการประสิทธิภาพและเจ้าหน้าที่ไม่ต้องการการควบคุม ดังนั้น แนวทางการประนีประนอมจึงควรใช้ การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance appraisal) เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการ / 2. ด้านแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จากแนวคิดที่ว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งที่ดีแต่ไม่จำเป็น จากสถานการณ์สังคมและความเข้มงวดของเงินทุนจะทำให้องค์การพัฒนาเอกชนเห็นว่าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งจำเป็น / 3. ด้านแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สามารถทำได้ 2 แนวทาง คือ การจัดกิจกรรมภายในองค์การ ซึ่งต้องเน้นการจัดชุดความรู้และชุดประสบการณ์ขององค์การให้เป็นระบบและการร่วมกิจกรรมภายนอกองค์กร ต้องอาศัยการประสานงานที่ดี / 4. ด้านกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ควรมุ่งเน้นการพัฒนาอาชีพ (Career development) เป็นกิจกรรมหลัก เพื่อกำหนดเป้าหมายการพัฒนาของบุคคลร่วมกับเป้าหมายขององค์การ และองค์การควรเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมเสริมอื่น ๆ เพื่อพัฒนาตนเอง.
The study on the topic of "Human Resource Development in Non-Government Organizations [NGOs], its to be surveyed an opinion of the sampling units who are performing their duties at NGOs in Bangkok Metropolitan areas to be against with Human Resource Development [HRD] in Non-Government Organization. The reasons for study of theis topic due to human being, to be an important centre of country development. Regarding to the 8th National Economic and Social Development Plan, its is emphasized an NGOs to be as an important role for implementation of governmental activities and problems solving as well as social development. However, NGOs themselves still have their own internal problems such as lacking for an effective management and administration, resignation of staff and lack of systematic proceeding in accordance with the principle of Human Resource Management [HRM]. In consequence, to study on HRD in NGOs is very important. Results of this study shall be the guide line for improving of HRD in NGOs / The purpose of this study / 1. To study for an understanding and importance of HRD in NGOs. / 2. To study of organizations' goals and guide lines for HRD in NGOs. / 3. To study of activities and proceeding of HRD in NGOs. / 4. To put forward the guide lines of NGOs improving by HRD in NGOs.
The method of this study / - Type of research it is a survey research, devides into two areas as follow ; / - documentary research / - sample survey research - Population and sample such as NGOs in Bangkok Metropolitan areas of which devides into three types such as small, moderate and big orgaizaitons, and carry on sampling procedure with quota sampling together with accidental sampling. / Measuring instrument used in this study was questionnaire and an interview form constructed by researcher and specified the answers with close answer and open answer in order to provide the sampling unit to answer openly, together with an interview form constructed with structure of questions use for the executive organizations / - Collecting data by distribution questionnaire to sampling unit and return back to the researcher but for an interview forms, this forms are used by the researcher / - Data analysing The data were then analyzed by using computer with SPSS program and using frequencies, percentage and standard diviation analysis / The following conclusions were based on the findings of this study ; / Concept ideas of HRD in NGOs still to be an old concept ideas by emphasizing on the success of the organization much more than staff.
Guide line of HRD in NGOs have had its goals of improving to perform its duties and HRD policy still not to be continuous and clear. / Activities and procedure by providing meeting. conference, seminar, counseling, training and evaluating. The effectiveness and efficiency to be an indicator for activity proceeding and the results of evaluation shall be used for improving to perform it duties in effectiveness / NGOs is an dependence orgaization and need more subsidy from external agencies. Subsidy procedures, it shall be co-ordinated and co-operated as the net-works by an activity collaborational arrangement. When classified these orgaization in accordance with its types and found that its concept ideas, guide lines and main activities are not so different from each other in detail such as the small organization shall be gave priority on attitudes, and big organization shall be gave priority on abitlity. Futhermore, small organization needs for implementation on special skill and knowledge, but for big organization needs for only skill.
Recommendation / 1. Management and administration of organization when the organizaiton need for effective and efficient performing, and staff can't want to be controlled, in connection with these matter, compromised guide lines shall be provided wich performance appraisal to be as and important instrument for management and administration / 2. Concept ideas of human resource development regarding to HRD is a good thing but not necessary, more over social situation and strict organization'fund shall be caused NGOs deem tha HRD is necessary. / 3. Guide lines of HRD can be done for two lines as follow ; / - Internal activity arranging which emphasizes on knowledge and experience of organization arrangement to be systematic and activity co-operation outside organization along with good co-operation / HRD activities should be emphasized on career development to be as major activity in order to specify the target for personnel development together with target of organization. Further more, the organization should be provided an opportunity fo staff for co-operation with other supplemental activities in order to oneself development.
Table of contents
Description
Methodology: Standard deviation
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.