• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิติศาสตร์
  • GSL: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ในการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting บนโทรศัพท์เคลื่อนที่

by นภัสรพี พิชยเมธพนธ์

Title:

ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ในการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting บนโทรศัพท์เคลื่อนที่

Other title(s):

Time-shifting exception on mobile phone

Author(s):

นภัสรพี พิชยเมธพนธ์

Advisor:

วริยา ล้ำเลิศ

Degree name:

นิติศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree department:

คณะนิติศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2013

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ในปัจจุบันมีการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งโทรศัพท์เคลื่อนที่มี ความสามารถและคุณลักษณะเช่นเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บบันทึกข้อมูล และนำข้อมูลที่ได้ทำการบันทึกนั้นกลับมาใช้งานใหม่ เทคโนโลยี Time-shifing ซึ่งเป็นการบันทึก รายการโทรทัศน์หรือวิทยุไว้เพื่อรับชมรับฟังในภายหลัง อันมีลักษณะของการทำซ้ำงานอันมีลิขสิทธิ์ ดังนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting บน โทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นเป็นการละเมิดลิซสิทธิ์หรือไม่ และพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ได้กำหนด หลักการใช้งานโดยธรรมให้ความคุ้มครองผู้ใช้งานเทคโนโลยีดังกล่าว และคุ้มครองผู้เป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์อย่างไร จากการศึกษาพบว่าพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 แม้จะได้กำหนดหลักการใช้งานโดย ธรรมเอาไว้ ในมาตรา 32 แต่ยังไม่ครอบคลุมถึงการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting เนื่องจากการใช้ งานทคโนโลยีดังกล่าวนอกจากเป็นข้อยกเว้นการละเมิดลิสิทธิ์แล้วจะต้องกำหนดถึงขอบเขตของ การใช้งานด้วย เพื่อไม่ให้ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของ ลิชสิทธิ์ และกระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ อีกทั้งประเทศ ไทยไม่มีคำพิพากษาของศาลวางหลักเกี่ยวกับการใช้งวนเทคโนโลยี Time-shifting เอาไว้ แต่ใน ประเทศสหรัฐอเมริกาได้มีคำพิพากษาของศาลสูงวางหลักไว้ว่าการใช้งนเทคโนโลยีดังกล่าวนั้นหาก เป็นการใช้โดยส่วนตัวและมิใช่ในเชิงพาณิชย์ย่อมเป็นการใช้งานโดยธรรม และในประเทศออสเตรเลีย ได้บัญญัติกฎหมายของข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์จากการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting ไว้ โดยเฉพาะ จึงมีความชัดเจนว่าต้องใช้งานเทคนโลยีดังกล่าวอย่างไรให้ได้รับการยกเว้นการละเมิด ลิขสิทธิ์ตังนั้นผู้เขียนขอเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาในเรื่องการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifting โดย ทำการแก้ไขเพิ่มเติมหลักข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์จากการใช้งานเทคโนโลยีดังกล่าวใน พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 มาตรา 32 โดยกำหนดว่าอะไรคือเทคโนโลยี Time-shifing เทคโนโลยีดังกล่าวมีการใช้งานอย่างไร และขอบเขตของการใช้งานคืออะไร และควรมีการแก้ไข เพิ่มเติมบทนิยามศัพท์ในมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยเพิ่มเติมคำว่า "ทำซ้ำชั่วคราว" เพื่อช่วยในการระบุลักษณะการใช้งานเทคโนโลยี Time-shifing และเทคโนโลยี อื่นๆ ต่อไป

Description:

วิทยานิพนธ์ ( )--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์,

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

93 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/729
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b180775.pdf ( 4,841.79 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSL: Theses [208]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×