การวิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานและประสิทธิผลของหน่วยการปกครองท้องถิ่น : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสุขาภิบาลและเทศบาล
Publisher
Issued Date
1989
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฑ, 114, 32 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วรพิทย์ มีมาก (1989). การวิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานและประสิทธิผลของหน่วยการปกครองท้องถิ่น : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสุขาภิบาลและเทศบาล. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/908.
Title
การวิเคราะห์โครงสร้างการบริหารงานและประสิทธิผลของหน่วยการปกครองท้องถิ่น : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสุขาภิบาลและเทศบาล
Alternative Title(s)
A comparative study of sanitary districts and municipalities
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างของสุขาภิบาล เกี่ยวกับการกระจายอำนาจและรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับสุขาภิบาล รวมทั้งศึกษา หาข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารงานและประสิทธิผลของสุขาภิบาลโดยเปรียบเทียบกับเทศบาล เพื่อประกอบการยกระดับของสุขาภิบาล
ประชากรที่ใช้ศึกษา ได้แก่ สุขาภิบาลที่มีฐานะการคลังเพียงพอที่จะ บริหารงานประจำของตนเองได้ จำนวน 18 แห่ง และเทศบาลที่มีรายได้จริง โดยไม่รวมเงินอุดหนุนประมาณ 10 ล้านบาท จำนวน 34 แห่ง สำหรับตัวอย่าง ที่นำมาใช้ในการศึกษาจะเลือกมาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิแยกออกตามพื้นที่ เป็น 6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ซึ่งจะได้สุขาภิบาลและเทศบาล รวมทุกพื้นที่อย่างละ 9 แห่ง จำแนกออกเป็นสุขาภิบาล ขนาดเล็ก 6 แห่ง สุขาภิบาลขนาดใหญ่ 3 แห่ง เทศบาล ขนาดเล็ก 4 แห่ง และเทศบาลขนาดใหญ่ 5 แห่ง สำหรับ กลุ่มบุคคลที่จะนำมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง แยกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ ฝ่ายการเมืองกับข้าราชการประจำ โดยสุขาภิบาลมีจำนวน 77 และ 81 คน ตามลำดับ และเทศบาลมีจำนวน 103 และ 54 คน ตามลำดับ การวิจัยจะกระทำทั้งวิจัยเอกสารและวิจัยสำรวจ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ และแบบสอบถาม สำหรับแบบสอบถามมีอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนแรกให้แสดงทรรศนะ เกี่ยวกับการบริหารงานและ ประสิทธิผล ทั้งของเทศบาลและสุขาภิบาล ส่วนที่ 2 ให้แสดงทรรศนะเกี่ยวกับโครงสร้างและอุปสรรคที่ส่งผลกระทบต่อการ ปฏิบัติงานของสุขาภิบาลโดยเฉพาะ
ผลลัพธ์จากการวิจัยมีดังนี้
1. จากการวิจัยเอกสารพบว่า การปกครองท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาล ยังคงมีแนวโน้มของการรวบอำนาจมากกว่า การกระจายอำนาจ
2. การวิจัยสำรวจพบว่า.
2.1 รูปแบบของคณะกรรมการสุขาภิบาล ตาม พ.ร.บ. สุขาภิบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 มีความเหมาะสม มากที่สุดสำหรับสุขาภิบาลในปัจจุบัน และในอนาคต เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีกับสภามีความเหมาะสมมากกว่า รูปแบบอื่น
2.2 ประเภทของหน่วยงาน ได้แก่ สุขาภิบาลและเทศบาลไม่สามารถบ่งชี้ ความแตกต่างและไม่มีน้ำหนักในการ อธิบาย การบริหารงานและประสิทธิผลขององค์การได้ รวมทั้งการบริหารงานและประสิทธิผลขององค์การเองก็ไม่ สามารถจำแนกสุขาภิบาลและ เทศบาลออกจากกันได้
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยมี 2 ประการคือ
1. ข้อเสนอแนะระยะสั้น
1.1 ให้มีการปรับปรุงระดับรายได้ของสุขาภิบาลที่มีฐานะการคลังเพียงพอ ที่จะบริหารงานประจำของตนเองได้ จากเดิม 3 ล้านบาทเป็น 5 ล้านบาท และหลักเกณฑ์การเปลี่ยนฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาลจากเดิม ซึ่งใช้รายได้ 5 ล้านบาท เพิ่มเป็น 8 ล้านบาท สำหรับทิศทางการเปลี่ยนแปลงมีดังนี้
ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน
5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีผู้แทนท้องถิ่นเป็นประธาน
8 ล้านบาท เทศบาล
เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงรายได้ใหม่ เนื่องจากสัดส่วนรายจ่าย ต่อรายได้ของเทศบาล ระดับ 5 ล้านบาทมีแนวโน้มสูงขึ้น และระดับการเปลี่ยนแปลงของรายได้ค่อนข้างทรงตัว ทำให้เทศบาลระดับนี้ต้องแบกภาระมาก ในขณะที่เทศบาลระดับ 8 ล้านบาท ภาระนี้จะลดลง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับจากสุขาภิบาลเป็น เทศบาลที่รายได้ 5 ล้านบาท จะทำให้เทศบาลประสบ ภาวะชะงักงันในการพัฒนา.
1.2 ควรจัดให้มี "เขตการบริหารกิจการร่วม" ขึ้น ระหว่างสุขาภิบาลกับหน่วยงานอื่นเพื่อเพิ่ม รายได้และพัฒนาประสิทธิผลขององค์การ.
1.3 ควรจัดอบรมเพิ่มพูนความรู้ทางการบริหารงานให้แก่คณะกรรมการ สุขาภิบาลที่มาจากการเลือกตั้ง รวมทั้งจัดทำคู่มือและฝึกอบรมเกี่ยวกับการวางแผน ตลอดจนเสริมทักษะในการปฏิบัติงานที่จำเป็นให้แก่สุขาภิบาล
2. ข้อเสนอแนะระยะยาว ข้อเสนอนี้จำเป็นต้องมี การปรับปรุงกฎหมายสุขาภิบาล สำหรับข้อเสนอมีดังนี้
2.1 ให้เพิ่มทางเลือกของการเปลี่ยนฐานะของสุขาภิบาลไปเป็นเทศบาลให้ มากขึ้น ณ ระดับรายได้ 5 ล้านบาท โดยผู้วิจัยเสนอ 3 รูปแบบ คือ
ก. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท คณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด 8 ล้านบาท เทศบาล
ข. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท นายอำเภอเป็นฝ่ายบริหารและสภาเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ 8 ล้านบาท เทศบาล
ค. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้ง 8 ล้านบาท เทศบาล
รูปแบบดังกล่าวข้างต้น สุขาภิบาลสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น นอกจากนี้เทศบาลควรปรับรูปแบบให้สอดคล้องกับสุขาภิบาลด้วย.
2.2 ให้มีการปรับปรุงหน้าที่ของสุขาภิบาลโดยการปรับปรุง มาตรา 25 ว่าด้วยหน้าที่ของสุขาภิบาลใหม่ให้เหมาะสมกับสุขาภิบาลมากขึ้น
2.3 ให้มีการปรับปรุงการคลังของสุขาภิบาลโดยการเพิ่มเติม มาตรา 29 ว่าด้วย การคลังและทรัพย์สินของสุขาภิบาล
2.4 ให้มีการปรับปรุงการกระจายอำนาจให้แก่สุขาภิบาลมากขึ้น โดยการปรับปรุงมาตรา 23 และ 24 (ว่าด้วยการวางแผน) มาตรา 25 ทวิและมาตรา 25 ตรี (ว่าด้วยการทำกิจการนอกเขตสุขาภิบาล)
8 ล้านบาท เทศบาล
เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงรายได้ใหม่ เนื่องจากสัดส่วนรายจ่าย ต่อรายได้ของเทศบาล ระดับ 5 ล้านบาทมีแนวโน้มสูงขึ้น และระดับการเปลี่ยนแปลงของ รายได้ค่อนข้างทรงตัว ทำให้เทศบาลระดับนี้ต้องแบกภาระมาก ในขณะที่เทศบาลระดับ 8 ล้านบาท ภาระนี้จะลดลง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับจากสุขาภิบาลเป็น เทศบาลที่รายได้ 5 ล้านบาท จะทำให้เทศบาลประสบ ภาวะชะงักงันในการพัฒนา.
1.2 ควรจัดให้มี "เขตการบริหารกิจการร่วม" ขึ้น ระหว่างสุขาภิบาลกับหน่วยงานอื่นเพื่อเพิ่ม รายได้และพัฒนาประสิทธิผลขององค์การ.
1.3 ควรจัดอบรมเพิ่มพูนความรู้ทางการบริหารงานให้แก่คณะกรรมการ สุขาภิบาลที่มาจากการเลือกตั้ง รวมทั้งจัดทำคู่มือและฝึกอบรมเกี่ยวกับการวางแผน ตลอดจนเสริมทักษะในการปฏิบัติงานที่จำเป็นให้แก่สุขาภิบาล
2. ข้อเสนอแนะระยะยาว ข้อเสนอนี้จำเป็นต้องมี การปรับปรุงกฎหมายสุขาภิบาล สำหรับข้อเสนอมีดังนี้
2.1 ให้เพิ่มทางเลือกของการเปลี่ยนฐานะของสุขาภิบาลไปเป็นเทศบาลให้ มากขึ้น ณ ระดับรายได้ 5 ล้านบาท โดยผู้วิจัยเสนอ 3 รูปแบบ คือ
ก. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท คณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด 8 ล้านบาท เทศบาล
ข. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท นายอำเภอเป็นฝ่ายบริหารและสภาเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ 8 ล้านบาท เทศบาล
ค. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้ง 8 ล้านบาท เทศบาล
รูปแบบดังกล่าวข้างต้น สุขาภิบาลสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ของท้องถิ่น นอกจากนี้เทศบาลควรปรับรูปแบบให้สอดคล้องกับสุขาภิบาลด้วย.
2.2 ให้มีการปรับปรุงหน้าที่ของสุขาภิบาลโดยการปรับปรุง มาตรา 25 ว่าด้วยหน้าที่ของสุขาภิบาลใหม่ให้เหมาะสมกับสุขาภิบาลมากขึ้น
2.3 ให้มีการปรับปรุงการคลังของสุขาภิบาลโดยการเพิ่มเติม มาตรา 29 ว่าด้วย การคลังและทรัพย์สินของสุขาภิบาล
2.4 ให้มีการปรับปรุงการกระจายอำนาจให้แก่สุขาภิบาลมากขึ้น โดยการปรับปรุงมาตรา 23 และ 24 (ว่าด้วยการวางแผน) มาตรา 25 ทวิและมาตรา 25 ตรี (ว่าด้วยการทำกิจการนอกเขตสุขาภิบาล)
ประชากรที่ใช้ศึกษา ได้แก่ สุขาภิบาลที่มีฐานะการคลังเพียงพอที่จะ บริหารงานประจำของตนเองได้ จำนวน 18 แห่ง และเทศบาลที่มีรายได้จริง โดยไม่รวมเงินอุดหนุนประมาณ 10 ล้านบาท จำนวน 34 แห่ง สำหรับตัวอย่าง ที่นำมาใช้ในการศึกษาจะเลือกมาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิแยกออกตามพื้นที่ เป็น 6 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก ซึ่งจะได้สุขาภิบาลและเทศบาล รวมทุกพื้นที่อย่างละ 9 แห่ง จำแนกออกเป็นสุขาภิบาล ขนาดเล็ก 6 แห่ง สุขาภิบาลขนาดใหญ่ 3 แห่ง เทศบาล ขนาดเล็ก 4 แห่ง และเทศบาลขนาดใหญ่ 5 แห่ง สำหรับ กลุ่มบุคคลที่จะนำมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง แยกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่คือ ฝ่ายการเมืองกับข้าราชการประจำ โดยสุขาภิบาลมีจำนวน 77 และ 81 คน ตามลำดับ และเทศบาลมีจำนวน 103 และ 54 คน ตามลำดับ การวิจัยจะกระทำทั้งวิจัยเอกสารและวิจัยสำรวจ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ และแบบสอบถาม สำหรับแบบสอบถามมีอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนแรกให้แสดงทรรศนะ เกี่ยวกับการบริหารงานและ ประสิทธิผล ทั้งของเทศบาลและสุขาภิบาล ส่วนที่ 2 ให้แสดงทรรศนะเกี่ยวกับโครงสร้างและอุปสรรคที่ส่งผลกระทบต่อการ ปฏิบัติงานของสุขาภิบาลโดยเฉพาะ
ผลลัพธ์จากการวิจัยมีดังนี้
1. จากการวิจัยเอกสารพบว่า การปกครองท้องถิ่นรูปแบบสุขาภิบาล ยังคงมีแนวโน้มของการรวบอำนาจมากกว่า การกระจายอำนาจ
2. การวิจัยสำรวจพบว่า.
2.1 รูปแบบของคณะกรรมการสุขาภิบาล ตาม พ.ร.บ. สุขาภิบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 มีความเหมาะสม มากที่สุดสำหรับสุขาภิบาลในปัจจุบัน และในอนาคต เทศบาลแบบนายกเทศมนตรีกับสภามีความเหมาะสมมากกว่า รูปแบบอื่น
2.2 ประเภทของหน่วยงาน ได้แก่ สุขาภิบาลและเทศบาลไม่สามารถบ่งชี้ ความแตกต่างและไม่มีน้ำหนักในการ อธิบาย การบริหารงานและประสิทธิผลขององค์การได้ รวมทั้งการบริหารงานและประสิทธิผลขององค์การเองก็ไม่ สามารถจำแนกสุขาภิบาลและ เทศบาลออกจากกันได้
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยมี 2 ประการคือ
1. ข้อเสนอแนะระยะสั้น
1.1 ให้มีการปรับปรุงระดับรายได้ของสุขาภิบาลที่มีฐานะการคลังเพียงพอ ที่จะบริหารงานประจำของตนเองได้ จากเดิม 3 ล้านบาทเป็น 5 ล้านบาท และหลักเกณฑ์การเปลี่ยนฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาลจากเดิม ซึ่งใช้รายได้ 5 ล้านบาท เพิ่มเป็น 8 ล้านบาท สำหรับทิศทางการเปลี่ยนแปลงมีดังนี้
ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน
5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีผู้แทนท้องถิ่นเป็นประธาน
8 ล้านบาท เทศบาล
เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงรายได้ใหม่ เนื่องจากสัดส่วนรายจ่าย ต่อรายได้ของเทศบาล ระดับ 5 ล้านบาทมีแนวโน้มสูงขึ้น และระดับการเปลี่ยนแปลงของรายได้ค่อนข้างทรงตัว ทำให้เทศบาลระดับนี้ต้องแบกภาระมาก ในขณะที่เทศบาลระดับ 8 ล้านบาท ภาระนี้จะลดลง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับจากสุขาภิบาลเป็น เทศบาลที่รายได้ 5 ล้านบาท จะทำให้เทศบาลประสบ ภาวะชะงักงันในการพัฒนา.
1.2 ควรจัดให้มี "เขตการบริหารกิจการร่วม" ขึ้น ระหว่างสุขาภิบาลกับหน่วยงานอื่นเพื่อเพิ่ม รายได้และพัฒนาประสิทธิผลขององค์การ.
1.3 ควรจัดอบรมเพิ่มพูนความรู้ทางการบริหารงานให้แก่คณะกรรมการ สุขาภิบาลที่มาจากการเลือกตั้ง รวมทั้งจัดทำคู่มือและฝึกอบรมเกี่ยวกับการวางแผน ตลอดจนเสริมทักษะในการปฏิบัติงานที่จำเป็นให้แก่สุขาภิบาล
2. ข้อเสนอแนะระยะยาว ข้อเสนอนี้จำเป็นต้องมี การปรับปรุงกฎหมายสุขาภิบาล สำหรับข้อเสนอมีดังนี้
2.1 ให้เพิ่มทางเลือกของการเปลี่ยนฐานะของสุขาภิบาลไปเป็นเทศบาลให้ มากขึ้น ณ ระดับรายได้ 5 ล้านบาท โดยผู้วิจัยเสนอ 3 รูปแบบ คือ
ก. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท คณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด 8 ล้านบาท เทศบาล
ข. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท นายอำเภอเป็นฝ่ายบริหารและสภาเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ 8 ล้านบาท เทศบาล
ค. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้ง 8 ล้านบาท เทศบาล
รูปแบบดังกล่าวข้างต้น สุขาภิบาลสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของท้องถิ่น นอกจากนี้เทศบาลควรปรับรูปแบบให้สอดคล้องกับสุขาภิบาลด้วย.
2.2 ให้มีการปรับปรุงหน้าที่ของสุขาภิบาลโดยการปรับปรุง มาตรา 25 ว่าด้วยหน้าที่ของสุขาภิบาลใหม่ให้เหมาะสมกับสุขาภิบาลมากขึ้น
2.3 ให้มีการปรับปรุงการคลังของสุขาภิบาลโดยการเพิ่มเติม มาตรา 29 ว่าด้วย การคลังและทรัพย์สินของสุขาภิบาล
2.4 ให้มีการปรับปรุงการกระจายอำนาจให้แก่สุขาภิบาลมากขึ้น โดยการปรับปรุงมาตรา 23 และ 24 (ว่าด้วยการวางแผน) มาตรา 25 ทวิและมาตรา 25 ตรี (ว่าด้วยการทำกิจการนอกเขตสุขาภิบาล)
8 ล้านบาท เทศบาล
เหตุผลของการเปลี่ยนแปลงรายได้ใหม่ เนื่องจากสัดส่วนรายจ่าย ต่อรายได้ของเทศบาล ระดับ 5 ล้านบาทมีแนวโน้มสูงขึ้น และระดับการเปลี่ยนแปลงของ รายได้ค่อนข้างทรงตัว ทำให้เทศบาลระดับนี้ต้องแบกภาระมาก ในขณะที่เทศบาลระดับ 8 ล้านบาท ภาระนี้จะลดลง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงระดับจากสุขาภิบาลเป็น เทศบาลที่รายได้ 5 ล้านบาท จะทำให้เทศบาลประสบ ภาวะชะงักงันในการพัฒนา.
1.2 ควรจัดให้มี "เขตการบริหารกิจการร่วม" ขึ้น ระหว่างสุขาภิบาลกับหน่วยงานอื่นเพื่อเพิ่ม รายได้และพัฒนาประสิทธิผลขององค์การ.
1.3 ควรจัดอบรมเพิ่มพูนความรู้ทางการบริหารงานให้แก่คณะกรรมการ สุขาภิบาลที่มาจากการเลือกตั้ง รวมทั้งจัดทำคู่มือและฝึกอบรมเกี่ยวกับการวางแผน ตลอดจนเสริมทักษะในการปฏิบัติงานที่จำเป็นให้แก่สุขาภิบาล
2. ข้อเสนอแนะระยะยาว ข้อเสนอนี้จำเป็นต้องมี การปรับปรุงกฎหมายสุขาภิบาล สำหรับข้อเสนอมีดังนี้
2.1 ให้เพิ่มทางเลือกของการเปลี่ยนฐานะของสุขาภิบาลไปเป็นเทศบาลให้ มากขึ้น ณ ระดับรายได้ 5 ล้านบาท โดยผู้วิจัยเสนอ 3 รูปแบบ คือ
ก. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท คณะกรรมการที่มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด 8 ล้านบาท เทศบาล
ข. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท นายอำเภอเป็นฝ่ายบริหารและสภาเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ 8 ล้านบาท เทศบาล
ค. ต่ำกว่า 5 ล้านบาท คณะกรรมการผสมที่มีนายอำเภอเป็นประธาน 5 ล้านบาท ฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติมาจากการเลือกตั้ง 8 ล้านบาท เทศบาล
รูปแบบดังกล่าวข้างต้น สุขาภิบาลสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ของท้องถิ่น นอกจากนี้เทศบาลควรปรับรูปแบบให้สอดคล้องกับสุขาภิบาลด้วย.
2.2 ให้มีการปรับปรุงหน้าที่ของสุขาภิบาลโดยการปรับปรุง มาตรา 25 ว่าด้วยหน้าที่ของสุขาภิบาลใหม่ให้เหมาะสมกับสุขาภิบาลมากขึ้น
2.3 ให้มีการปรับปรุงการคลังของสุขาภิบาลโดยการเพิ่มเติม มาตรา 29 ว่าด้วย การคลังและทรัพย์สินของสุขาภิบาล
2.4 ให้มีการปรับปรุงการกระจายอำนาจให้แก่สุขาภิบาลมากขึ้น โดยการปรับปรุงมาตรา 23 และ 24 (ว่าด้วยการวางแผน) มาตรา 25 ทวิและมาตรา 25 ตรี (ว่าด้วยการทำกิจการนอกเขตสุขาภิบาล)
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ด. (การบริหารการพัฒนา))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2532.