การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Publisher
Issued Date
1997
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
2 เล่ม ; 30 ซม
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กมลทิพย์ คติการ (1997). การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/913.
Title
การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Alternative Title(s)
A comparative study on the management of agricultural cooperatives in Northeast Thailand
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคล้ายคลึงและแตกต่างในการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 กุล่ม คือ กลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก ปานกลางและน้อย และเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์การเกษตรในระดับอำเภอให้สอดคล้องกับปัญหาและข้อเท็จจริง โดยผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีการวิเคราะห์เชิงระบบเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ศึกษา / เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการวิจัยที่กำหนดไว้ข้างต้น ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีลักษณะเป็นการวิจัยเชิงบุกเบิก เป็นแนวทางหลักในการศึกษาหาข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบ โดยมีการสัมภาษณ์ระดับลึกผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสหกรณ์การเกษตร 24 สหกรณ์ ซึ่งกระจายอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ได้แก่จังหวัดนครพนม อุดรธานี ร้อยเอ็ด ชัยภูมิ สุรินทร์ และศรีสะเกษ ในแต่ละจังหวัดได้เลือกสหกรณ์การเกษตรระดับอำเภอจำแนกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก กลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย ในการจำแนกกลุ่มตัวอย่างได้ใช้ตัวชี้วัดทางธุรกิจ 3 ตัว คือ อัตราส่วนทางทรัพย์สินหมุนเวียนต่อหนี้สินหมุนเวียน อัตราส่วนทุนของสหกรณ์ต่อทุนดำเนินงานทั้งหมด และอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน โดยใช้ข้อมูลเกี่ยวกับสหกรณ์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2536 ดังนั้นการสุ่มเลือกกุล่มตัวอย่างในการวิจัยนี้จึงใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เพื่อให้ได้สหกรณ์การเกษตรที่กำหนดคุณสมบัติไว้ครบถ้วนทุกกลุ่มในจังหวัดเดียวกัน โดยกำหนดหน่วยวิเคราะห์เป็นระดับองค์การ ผลการสุ่มเลือกตัวอย่าง ได้กลุ่มสหกรณ์การเกษตรที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก กลุ่มสหกรณ์การเกษตรที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มสหกรณ์การเกษตรที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย กลุ่มละ 8.
สหกรณ์เท่า ๆ กัน / ผลการวิจัยนี้สรุปได้ดังนี้ / ในด้านปัจจัยนำเข้า สหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก มีศักยภาพของสมาชิกสูงกว่า มีทุนเรือนหุ้น เงินสำรองและทุนอื่น ๆ และมีทุนดำเนินงานมากกว่า และมีเครื่องมือเครื่องใช้ในสำนักงานที่ทันสมัยกว่าสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อยตามลำดับ แต่ในด้านศักยภาพและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินการของหสกรณ์กลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก ค่อนข้างใกล้เคียงกับกลุ่มที่ประสบความสำเร็จปานกลาง และทั้งสองกลุ่มมีศักยภาพและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินการดีกว่าคณะกรรมการดำเนินการของกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย และทั้งสามกลุ่มมีการปฏิบัติหน้าที่ของสหกรณ์อำเภอที่คอยเป็นที่พี่เลี้ยงให้คำแนะนำปรึกษา ควบคุมกำกับการทำงานไม่แตกต่างกัน / ในด้านกระบวนการปรับเปลี่ยนปัจจัยนำเข้าให้เป็นผลการดำเนินงาน สหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบควาามสำเร็จทางธุรกิจมากมีผู้จัดการที่มีศักยภาพสูงกว่าผู้จัดการของสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลางเล็กน้อย และผู้จัดการทั้งสองกลุ่มมีศักยภาพดีกว่าผู้จัดการในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย / ส่วนขบวนการรับสมัครสมาชิกใหม่ และการวางแผนงานของสหกรณ์ทั้งสามกลุ่มไม่แตกต่างกัน / ด้านขนาดขององค์การและการจัดแผนกงาน สหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก มีขนาดองค์การขนาดใหญ่กว่าและมีการจัดแผนกงานมากกว่าสหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย ตามลำดับ /
ด้านการจัดการงานบุคคล สหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมากมีแนวโน้มที่จะมีสวัสดิการให้แก่พนักงานมากกว่ากลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย / การติดต่อสื่อสาร สหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมากมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยได้แก่ เครื่องโทรสาร และวิทยุสื่อสารสมบูรณ์พร้อมกว่ากุล่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลางและกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย / การควบคุมตรวจสอบภายใน คณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก มีการดำเนินงานเป็นระบบชัดเจนกว่าคณะกรรมการดำเนินการในกลุ่มที่ประสบความเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย ส่วนการควบคุมภายนอก สหกรณ์ทั้งสามกลุ่มมักประสบปัญหาคล้ายคลึงกันคือ การตรวจสอบบัญชีล่าช้าเพราะอัตรากำลังของเจ้าหน้าที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์มีน้อยเจ้าหน้าที่ย้ายบ่อย ทำให้ทำงานไม่ต่อเนื่อง / ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์ที่เป็นปัญหาร่วมกัน คือปัญหาการมีทุนไม่เพียงพอ มีปัญหาด้านบุคลากร และบางปีเกษตรกรประสบภัยธรรมชาติ ซึ่งส่งผลต่อการชำระหนี้ของสมาชิก / ผลการดำเนินงาน จากการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี (ได้แก่ข้อมูลปีบัญชี 2535-2537) พบว่า ทุกกลุ่มสหกรณ์มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น สหกรณ์ที่มีกำไรสุทธิพัฒนาขึ้นเป็นลำดับอย่างมีเสถียรภาพมี 8 สหกรณ์ เป็นสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก 2 สหกรณ์ สหกรณ์ในกุล่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง 5 สหกรณ์และเป็นสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย 1 สหกรณ์ / จากผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่า ขนาดสหกรณ์ที่จะพัฒนาอย่างมีความมั่นคง ควรมีสมาชิกไม่ต่ำกว่า 1,000 คน จำนวนสมาชิกที่จะทำให้สหกรณ์มีศักยภาพในการพัฒนาที่มั่นคงก้าวหน้าคือจำนวน 2,000 คน ขึ้นไป และมีทุนเรือนหุ้นมากกว่า 5 ล้าน บาท มีเงินสำรองและทุนอื่น ๆ ไม่ต่ำกว่า 3 ล้านบาท และมีทุนดำเนินงานควรอยู่ในระดับไม่ต่ำกว่า 20 ล้านบาท / ข้อเสนอแนะจากการวิจัย / เพื่อให้สหกรณ์การเกษตรมีการพัฒนาเป็นสถาบันเกษตรกรที่เข้มแข็ง ควรมีการดำเนินการดังนี้ / 1) รัฐควรมีนโยบายที่จะส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การกำหนดนโยบายของรัฐซึ่งส่งผลต่อวิถีชีวิตของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรควรพิจารณาด้วยความละเอียดรอบคอบ มองปัญหาอย่างลุ่มลึก และรอบด้าน
2) ในส่วนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ควรมีการเพิ่มอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้ได้สัดส่วนกับปริมาณงาน ควรมีการพิจารณาทบทวนบทบาทของกรมฯ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและพัฒนาการของสหกรณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และควรปรับทัศนคติของข้าราชการให้มองว่าสหกรณ์เป็นองค์กรธุรกิจรูปแบบหนึ่ง ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของทางราชการ / 3) ควรมีการพิจารณาปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานสหรกณ์ซึ่งอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันทางธุรกิจสูงดังเช่นปัจจุบัน / 4)สหกรณ์การเกษตรที่มีขนาดเล็กซึ่งมีสมาชิกต่ำกว่า 1,000 คน ควรได้รับการพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อให้มีสมาชิกกว่า 1,000 คนขึ้นไป.
This study analyzes and identifies management facets that lie behind the existing "high-" "medium-" or "low-" business performance of agricultural cooperatives at the district level in Northeast Thailand. / A qualitative research design, exploratory in nature, was employed in the data collection and comparative analysis. Persons involved with 24 agricultural cooperatives in six Northeast Thailand provinces, (Nakhon Phanom, Undon Thani, Roi-Et, Chaiyaphum, Surin, and Si Sa Ket) were interviewed in depth. These 24 cooperatives, at the district level, had been sampled according to designated criteria so that samples from each province would cover all "high-" "medium-" and "low-" performance cooperatives. Three business indicatiors, i.e., (a) current ratio, (b) members' equity per total operating capital ratio, and (c) debt equity ratio (as concluded at the fiscal year ended March, 31st. 1993) were used as sampling criteria for performance classification. A purposive sampling technique was applied to select the sample groups. Each cooperative was treated as one unif of analysis. The overall sampling design yielded three groups of eight cooperatives each, representing the "high-" "medium-" and "low-" business performance categories of cooperatives in operation in the Northeast.
The findings of this reseach are as follow : / In terms of input, the caliber of members of the high-peformance cooperatives was clearly higher than those of the medium- and low-performance cooperatives. The high-performance cooperatives were found to possess higher members' share capital, as well as higher reserve funds, statutory reserves and total operating capital, and also possessed more modern office equipment in comparison to the medium- and low-performance cooperatives. However, in terms of cooperative committess' caliber and efficiency in performing their roles and duties, no significant difference was found between the high- and the medium-performance groups, but these two groups' performance was rated higher than the low-performance cooperatives group. All three groups of cooperatives were found to have received the same degree of guidance, supportive consultation, monitoring and auditing from the district cooperatives personnel. In terms of conversion process of input to operation achievement, it was found that the caliber of managers from the high-performance cooperatives was somewhat higher than that of managers from medium-performance cooperatives, and managers from these two groups were of higher caliber than managers from the low-performance cooperatives.
The process of obtaining new members and operation planning of all three categories of cooperatives were similar. / In terms of organization size and organization of cooperative personnel, the cooperatives group with high performance appeared to have a larger and better organization in comparison to the medium- and low-performance groups respectively. / In terms of personnel management, it appeared that the high-performance cooperatives group provided better security and fringe benefits to their personnel in comparison to the medium-and low-performance ones. / With regard to communication aspects, the high performance-cooperatives had more modern communication equipment such as facsimiles, and radio transceivers in comparison to the medium- and low-performance cooperatives respectively. / Examination of internal auditing revealed that the committess of the high-peformance cooperatives had more concrete and more systematic operations in comparison to the medium- and low-performance cooperatives. On the other hand, the three groups faced a common problem in external auditing, i.e., a sluggish account auditing due to insufficient manpower plus frequent transfers of personnel in the Department of Cooperative Auditing creating concurrent work interuption. / Common problems in devlopment of the three groups were insufficient capital and manpower, and natural disasters that occurred and affected the payments of farmer members of the cooperatives in certain years. / Examination of account data for fiscal year 1992-94 revealed that all three groups had a steady net profit increment annually. These included two cooperatives from the high-, five from the medium- and one from the low-performance groups. / Findings indicate that to be capable of steady development a cooperative should have at least 1,000 members. Furthermore. for steady development, membership of at least 2,000 is desirable, and members, share capital, reserved fund and statutory reserves, and total operating capital shoud be no less than five million. three million, and 20 million baht respectively.
Recommendations: In order to guarantee the development of agricultural cooperatives and to secure them as a strong agricultural institution the following actions should be taken : 1. The State should issue policies that stress the promotion and development of agricultural cooperatives. Those policies should be pursued seriously and continuously. Since the public policies have a great impact upon farmers' way of life and agricultural institutions, they should be formulated with great care, a clear vision, sample insight, and thorough consideration of all factors. 2. The Cooperative Promotion Department should be properly and sufficiently manned to meet the work load. Many roles of the Department should be reviewed and readjusted in order to keep in pace with the development of cooperatives and the quick changes of social circumstances. Attitudes towards cooperatives activities of people concerned should be corrected so that it is perceived as one of a business organization and not just merely an ordinary government organization. 3. Laws and regulations concerning cooperatives which are obstacles or pose a threat to cooperatives administration should be amended to allow the cooperatives more maneuverability for operation in the highly competitive atmosphere of present business world. 4. Small agricultural cooperatives, which have members less than 1,000 should be developed to larger size which have more than 1,000 members.
สหกรณ์เท่า ๆ กัน / ผลการวิจัยนี้สรุปได้ดังนี้ / ในด้านปัจจัยนำเข้า สหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก มีศักยภาพของสมาชิกสูงกว่า มีทุนเรือนหุ้น เงินสำรองและทุนอื่น ๆ และมีทุนดำเนินงานมากกว่า และมีเครื่องมือเครื่องใช้ในสำนักงานที่ทันสมัยกว่าสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อยตามลำดับ แต่ในด้านศักยภาพและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินการของหสกรณ์กลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก ค่อนข้างใกล้เคียงกับกลุ่มที่ประสบความสำเร็จปานกลาง และทั้งสองกลุ่มมีศักยภาพและการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินการดีกว่าคณะกรรมการดำเนินการของกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย และทั้งสามกลุ่มมีการปฏิบัติหน้าที่ของสหกรณ์อำเภอที่คอยเป็นที่พี่เลี้ยงให้คำแนะนำปรึกษา ควบคุมกำกับการทำงานไม่แตกต่างกัน / ในด้านกระบวนการปรับเปลี่ยนปัจจัยนำเข้าให้เป็นผลการดำเนินงาน สหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบควาามสำเร็จทางธุรกิจมากมีผู้จัดการที่มีศักยภาพสูงกว่าผู้จัดการของสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลางเล็กน้อย และผู้จัดการทั้งสองกลุ่มมีศักยภาพดีกว่าผู้จัดการในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย / ส่วนขบวนการรับสมัครสมาชิกใหม่ และการวางแผนงานของสหกรณ์ทั้งสามกลุ่มไม่แตกต่างกัน / ด้านขนาดขององค์การและการจัดแผนกงาน สหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก มีขนาดองค์การขนาดใหญ่กว่าและมีการจัดแผนกงานมากกว่าสหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย ตามลำดับ /
ด้านการจัดการงานบุคคล สหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมากมีแนวโน้มที่จะมีสวัสดิการให้แก่พนักงานมากกว่ากลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย / การติดต่อสื่อสาร สหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมากมีเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัยได้แก่ เครื่องโทรสาร และวิทยุสื่อสารสมบูรณ์พร้อมกว่ากุล่มสหกรณ์ที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลางและกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย / การควบคุมตรวจสอบภายใน คณะกรรมการดำเนินการของสหกรณ์การเกษตรในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก มีการดำเนินงานเป็นระบบชัดเจนกว่าคณะกรรมการดำเนินการในกลุ่มที่ประสบความเร็จทางธุรกิจปานกลาง และกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย ส่วนการควบคุมภายนอก สหกรณ์ทั้งสามกลุ่มมักประสบปัญหาคล้ายคลึงกันคือ การตรวจสอบบัญชีล่าช้าเพราะอัตรากำลังของเจ้าหน้าที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์มีน้อยเจ้าหน้าที่ย้ายบ่อย ทำให้ทำงานไม่ต่อเนื่อง / ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาสหกรณ์ที่เป็นปัญหาร่วมกัน คือปัญหาการมีทุนไม่เพียงพอ มีปัญหาด้านบุคลากร และบางปีเกษตรกรประสบภัยธรรมชาติ ซึ่งส่งผลต่อการชำระหนี้ของสมาชิก / ผลการดำเนินงาน จากการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี (ได้แก่ข้อมูลปีบัญชี 2535-2537) พบว่า ทุกกลุ่มสหกรณ์มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น สหกรณ์ที่มีกำไรสุทธิพัฒนาขึ้นเป็นลำดับอย่างมีเสถียรภาพมี 8 สหกรณ์ เป็นสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจมาก 2 สหกรณ์ สหกรณ์ในกุล่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจปานกลาง 5 สหกรณ์และเป็นสหกรณ์ในกลุ่มที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจน้อย 1 สหกรณ์ / จากผลการวิจัยนี้บ่งชี้ว่า ขนาดสหกรณ์ที่จะพัฒนาอย่างมีความมั่นคง ควรมีสมาชิกไม่ต่ำกว่า 1,000 คน จำนวนสมาชิกที่จะทำให้สหกรณ์มีศักยภาพในการพัฒนาที่มั่นคงก้าวหน้าคือจำนวน 2,000 คน ขึ้นไป และมีทุนเรือนหุ้นมากกว่า 5 ล้าน บาท มีเงินสำรองและทุนอื่น ๆ ไม่ต่ำกว่า 3 ล้านบาท และมีทุนดำเนินงานควรอยู่ในระดับไม่ต่ำกว่า 20 ล้านบาท / ข้อเสนอแนะจากการวิจัย / เพื่อให้สหกรณ์การเกษตรมีการพัฒนาเป็นสถาบันเกษตรกรที่เข้มแข็ง ควรมีการดำเนินการดังนี้ / 1) รัฐควรมีนโยบายที่จะส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์การเกษตรอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การกำหนดนโยบายของรัฐซึ่งส่งผลต่อวิถีชีวิตของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรควรพิจารณาด้วยความละเอียดรอบคอบ มองปัญหาอย่างลุ่มลึก และรอบด้าน
2) ในส่วนของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ควรมีการเพิ่มอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้ได้สัดส่วนกับปริมาณงาน ควรมีการพิจารณาทบทวนบทบาทของกรมฯ ให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและพัฒนาการของสหกรณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และควรปรับทัศนคติของข้าราชการให้มองว่าสหกรณ์เป็นองค์กรธุรกิจรูปแบบหนึ่ง ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของทางราชการ / 3) ควรมีการพิจารณาปรับปรุงกฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องที่เป็นอุปสรรคต่อการบริหารงานสหรกณ์ซึ่งอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการแข่งขันทางธุรกิจสูงดังเช่นปัจจุบัน / 4)สหกรณ์การเกษตรที่มีขนาดเล็กซึ่งมีสมาชิกต่ำกว่า 1,000 คน ควรได้รับการพัฒนาให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อให้มีสมาชิกกว่า 1,000 คนขึ้นไป.
This study analyzes and identifies management facets that lie behind the existing "high-" "medium-" or "low-" business performance of agricultural cooperatives at the district level in Northeast Thailand. / A qualitative research design, exploratory in nature, was employed in the data collection and comparative analysis. Persons involved with 24 agricultural cooperatives in six Northeast Thailand provinces, (Nakhon Phanom, Undon Thani, Roi-Et, Chaiyaphum, Surin, and Si Sa Ket) were interviewed in depth. These 24 cooperatives, at the district level, had been sampled according to designated criteria so that samples from each province would cover all "high-" "medium-" and "low-" performance cooperatives. Three business indicatiors, i.e., (a) current ratio, (b) members' equity per total operating capital ratio, and (c) debt equity ratio (as concluded at the fiscal year ended March, 31st. 1993) were used as sampling criteria for performance classification. A purposive sampling technique was applied to select the sample groups. Each cooperative was treated as one unif of analysis. The overall sampling design yielded three groups of eight cooperatives each, representing the "high-" "medium-" and "low-" business performance categories of cooperatives in operation in the Northeast.
The findings of this reseach are as follow : / In terms of input, the caliber of members of the high-peformance cooperatives was clearly higher than those of the medium- and low-performance cooperatives. The high-performance cooperatives were found to possess higher members' share capital, as well as higher reserve funds, statutory reserves and total operating capital, and also possessed more modern office equipment in comparison to the medium- and low-performance cooperatives. However, in terms of cooperative committess' caliber and efficiency in performing their roles and duties, no significant difference was found between the high- and the medium-performance groups, but these two groups' performance was rated higher than the low-performance cooperatives group. All three groups of cooperatives were found to have received the same degree of guidance, supportive consultation, monitoring and auditing from the district cooperatives personnel. In terms of conversion process of input to operation achievement, it was found that the caliber of managers from the high-performance cooperatives was somewhat higher than that of managers from medium-performance cooperatives, and managers from these two groups were of higher caliber than managers from the low-performance cooperatives.
The process of obtaining new members and operation planning of all three categories of cooperatives were similar. / In terms of organization size and organization of cooperative personnel, the cooperatives group with high performance appeared to have a larger and better organization in comparison to the medium- and low-performance groups respectively. / In terms of personnel management, it appeared that the high-performance cooperatives group provided better security and fringe benefits to their personnel in comparison to the medium-and low-performance ones. / With regard to communication aspects, the high performance-cooperatives had more modern communication equipment such as facsimiles, and radio transceivers in comparison to the medium- and low-performance cooperatives respectively. / Examination of internal auditing revealed that the committess of the high-peformance cooperatives had more concrete and more systematic operations in comparison to the medium- and low-performance cooperatives. On the other hand, the three groups faced a common problem in external auditing, i.e., a sluggish account auditing due to insufficient manpower plus frequent transfers of personnel in the Department of Cooperative Auditing creating concurrent work interuption. / Common problems in devlopment of the three groups were insufficient capital and manpower, and natural disasters that occurred and affected the payments of farmer members of the cooperatives in certain years. / Examination of account data for fiscal year 1992-94 revealed that all three groups had a steady net profit increment annually. These included two cooperatives from the high-, five from the medium- and one from the low-performance groups. / Findings indicate that to be capable of steady development a cooperative should have at least 1,000 members. Furthermore. for steady development, membership of at least 2,000 is desirable, and members, share capital, reserved fund and statutory reserves, and total operating capital shoud be no less than five million. three million, and 20 million baht respectively.
Recommendations: In order to guarantee the development of agricultural cooperatives and to secure them as a strong agricultural institution the following actions should be taken : 1. The State should issue policies that stress the promotion and development of agricultural cooperatives. Those policies should be pursued seriously and continuously. Since the public policies have a great impact upon farmers' way of life and agricultural institutions, they should be formulated with great care, a clear vision, sample insight, and thorough consideration of all factors. 2. The Cooperative Promotion Department should be properly and sufficiently manned to meet the work load. Many roles of the Department should be reviewed and readjusted in order to keep in pace with the development of cooperatives and the quick changes of social circumstances. Attitudes towards cooperatives activities of people concerned should be corrected so that it is perceived as one of a business organization and not just merely an ordinary government organization. 3. Laws and regulations concerning cooperatives which are obstacles or pose a threat to cooperatives administration should be amended to allow the cooperatives more maneuverability for operation in the highly competitive atmosphere of present business world. 4. Small agricultural cooperatives, which have members less than 1,000 should be developed to larger size which have more than 1,000 members.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ด. (การบริหารการพัฒนา))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2540.