ศิวิกา ดุษฎีโหนดจุมพต สังข์ทอง2014-05-052014-05-052008b158164http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/494วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008วัตถุประสงค์งานของวิจัยนี้ เพื่อวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานการผลิตและส่งออก กล้วยไม้ตัดดอกและศึกษาผลกระทบในปัจจัยต่างๆทเกี่ยวข้องซึ่งการศึกษาประกอบด้วย 3 ส่วน คือส่วนแรกการวัดประสิทธิภาพการดำเนินงานการผลิตและส่งออกโดยใช้การวิเคราะห์เชิงโอบล้อมข้อมูล(Data Envelopment Analysis, DEA)ระหว่างประเทศไทยกับประเทศผู้ส่งออกและ ผู้ผลิตรายสําคัญในช่วงปี 2546 – 2548 ซึ่งพิจารณาปัจจัยนำเข้าคือ 1. วาระวางการขนส่งทางอากาศ 2. ใช้จ่ายในการผลิตกล้วยไม้ 3. พื้นที่เพาะปลูก 4. ระยะทางขนส่งภายในประเทศปัจจัย ผลผลิตคือ 1. ปริมาณการส่งออก 2. ลคาการส่งออกจากการวิเคราะห์ประเทศผู้ส่งออกรายสำคัญ ในตลาดโลก 6 ประเทศคือประเทศไทยนิวซแลนด์สิงค์โปรไต้หวันมาเลเซียและแอฟริกาใต้ผลการศึกษาพบว่าภาพรวมตลาดโลกประเทศไทยนิวซแลนด์และสิงค์โปร์ประสิทธิภาพการ ดําเนินงานดีที่สุดตลอดช่วงเวลา 3 ส่วนประเทศไต้หวันและมาเลเซียประสิทธิภาพการ ดําเนินงานมแนวโน้มลดลงในช่วง 3 เมื่อพิจารณาบนฐานตลาดประเทศผู้นําเข้ารายสำคัญคือ ประเทศญี่ปุ่นสหรฐอเมรกาอิตาลและเนเธอรแลนด์พบว่าประเทศไทยมประสทธิภาพการ ดําเนินงานสูงที่สุดในทุกตลาด ส่วนที่สอง การวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยการผลิตและการส่งออก ชนผลิตภาพการผลิต สามารถนำมาใช้โดยพิจารณาปัจจยด้านการจัดการพื้นที่เพาะปลูกปัจจัยค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูก ปัจจัยค่าแรงงาน ปัจจัยภาษีสินค้าการเกษตร ปัจจัยค่าขนส่งระหว่างประเทศ ปัจจัยค่าขนส่ง ภายในประเทศและปัจจัยพื้นที่การขนส่งทางอากาศเปรียบเทียบปัจจัยการผลิตและส่งออกประเทศไทยกับประเทศผลิตรายอื่นๆ ผลการศึกษาเลขดัชนีสูงสุดในแต่ละปัจจัยพบว่า ปัจจัยด้านการ จัดการพื้นที่เพาะปลูกประเทศสิงคโปร์ เลขดัชนีร้อยละ 412 ปัจจัยค่าใช้จ่ายในการเพาะปลูก ประเทศมาเลเซียเลขดัชนีร้อยละ 165 ปัจจัยค่าแรงงานประเทศมาเลเซียเลขดัชนีร้อยละ410 ปัจจัยภาษีสินค้าการเกษตรประเทศไทย เลขดัชนีร้อยละ 100 ปัจจัยค่าขนส่งระหว่างประเทศ ประเทศแอฟริกาใต้เลขดัชนีร้อยละ 1,481 ปัจจัยค่าขนส่งภายในประเทศประเทศไทยเลขดัชนี ร้อยละ 100 และปัจจัยพื้นที่การขนส่งทางอากาศประเทศสิงคโปร์เลขดัชนีร้อยละ 294 ส่วนที่สามการประเมินประสิทธิภาพประเทศผู้นําเข้ากล้วยไม้ตัดดอกโดยใช้ DEA ซึ่ง พิจารณาปัจจัยนำเข้าคือ 1. วาระวางการขนส่งทางอากาศ 2. อัตราภาษีอากรนำเข้าปัจจัยผลผลิตคือ 1. ปรมาณการส่งออก 2. ลูกค้าการส่งออกโดยกำหนดกลุ่มประเทศที่ทําการศึกษาจากสัดส่วนการ ส่งออกของไทยที่ร้อยละ 99 ในปี . 2546 พบว่าการดำเนินงานนำเข้ากล้วยไม้ตัดดอกของ ประเทศญี่ปุ่นและองค์กงประสิทธภาพสุดร้อยละ 100 นอกจากนจากผลการศึกษาที่กล่าวมา ได้นําไปสู่การเสนอแนวนโยบายสำหรับปรับปรุง การดำเนินงานการผลิตและส่งออกของไทย นโยบายแรก การย้ายฐานการผลิตกล้วยไม้ไปใน ประเทศอื่นๆได้แก่ประเทศลาวและศรีลังกาและนโยบายการกำหนดสัดส่วนพื้นที่ระหว่างขนส่ง ทางอากาศสำหรับสินค้าภาคการเกษตร เพื่อรองรับกับสภาพปัญหาพื้นที่ระวางการส่งออกทาง อากาศไม่เพียงพอต่อความต้องการในหมวดของสินค้าเกษตร122 แผ่นapplication/pdfthaผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)กล้วยไม้ -- ไทย -- การผลิตกล้วยไม้ -- ไทย -- การส่งออกกล้วยไม้ -- ไทย -- การตลาดการวัดประสิทธิภาพด้านการดำเนินงานการผลิตและการส่งออกกล้วยไม้ตัดดอกของประเทศไทยMeasurement of production and export efficiency of Thai cut orchidtext--thesis--master thesis10.14457/NIDA.the.2008.89