ทวีศักดิ์ สูทกวาทินเสริมขวัญ วงศ์ตลาดขวัญ2023-04-242023-04-242015b191869https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6376วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยระดับคุณภาพชีวิดการทำงาน และวิจัยความสัมพันธ์ ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ โดยทำการวิจัยแรงานต่างด้าวสัญชาติ พม่าที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานจัดหางานอย่างถูกล้องดามกฎหมาย และทำงานอยู่ในโรงงานผลิต อาหาร อาหารกระป้อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาครทั้งสิ้น 7 โรงงาน จำนวน 375 คน ใช้ การสัมภาษณ์และแบบสอบถามในการเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ด้านคุณลักษณะของ ผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน 6 ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าตอบแทนที่ เพียงพอและยุติธรรม สภาพการทำงานที่ปลอดภัย โอกาสในการเพิ่มและพัฒนาขีดความสามารถ ในการทำงาน การทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น สิทธิและเสรีภาพในการทำงาน ความสมดุระหว่างานกับชีวิดส่วนตัว และด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน 3 ด้าน ซึ่ง ประกอบไปด้วย ความระลึกและกล่าวถึงองค์การในเชิงบวก ความปรารถนาเป็นสมาชิกของ องค์การต่อไป และความทุ่มเทในการทำงาน นำข้อมูลที่ไห้ประมวลผลและวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) ในการบรรยายข้อมูลเบื้องต้นผู้วิจัย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ((Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ((Standard Deviation: S.D.) และใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi- square Test) เป็นสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ในการทคสอบสมมติฐานที่ ได้ตั้งไว้ ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมแรงานต่างด้าวสัญชาติพม่ามีคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ใน ระดับพึงพอใจมาก โดยมีระดับความพึงพอใจมากเกือบทุกด้าน สำหรับระดับความพึงพอใจมาก ที่สุดคือด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย โดยมีค่าเฉลี่ย 2.87 รองลงมาคือด้านสิทธิเสริภาพในการทำงาน โดยมีค่าเฉลี่ย 2.83 และด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิดส่วนตัว โคยมีค่าเฉสี่ย 2.78 ยกเว้นค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุดิธรรมเพียงด้านเดียวที่มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ค่าเฉลี่ย 2.26 สะท้อนให้เห็นว่าในภาพรวม (Total Compensation) แรงงานพม่าล้วนพึงพอใจมาก กับสวัสดิการและคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ชี้ให้เห็นชัดเจนว่า สถานประกอบการ สามารถบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานต่างตัวเรื่องคำตอบแทนให้มีความ เพียงพอและยุดิธรรมได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อพิจารณาผลการวิจัยในมิติฐานเงินเดือน (Base Salary) พบว่า แรงานพม่ายังมีความกังวลในเรื่องของเงินล่วงเวลา (OT) ที่น้อยลง และค่าครองชีพใน ประเทศไทยที่สูงขึ้น ส่งผลให้การเก็บออมรายได้บางส่วนเพื่อใช้จ่ายในอนาคตไม่เพียงพอ ด้วยเหตุ นี้จึงทำให้ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมมีระดับความพึงพอใจปานกลาง ฉะนั้นการปรับ ขึ้นค่าแรงจึงไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด แต่ควรปรับค่าครองชีพให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ รายได้ ประกอบกับสถานประกอบการควรมีสวัสดิการให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายประเภทอื่น ๆ ที่ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพของแรงงานด้วย เช่น อาหารกลางวัน ที่พักพนักงาน รถรับส่ง เป็น ต้น เพื่อให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตการทำงานด้านคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมดียิ่งขึ้น สำหรับการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของแรงานต่างด้าวพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงานทั้ง 6 ด้านน มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ องค์การของแรงานต่างด้าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ซึ่งเป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง ไว้ทั้ง6 ข้อ นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบว่า หากคุณภาพชีวิตในการทำงานดีย่อมส่งผลให้แรงงาน ต่างด้าวเกิดความผูกพันต่อองค์การ ทำให้มีความปรารถนาเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป มีความ ระลึกถึงองค์การเสมอ อยากมีส่วนร่วมต่อองค์การและปฏิบัติดามกฎระเบียบขององค์การ ตลอดจน กล่าวถึงองค์การในเชิงบวกและมีความทุ่มเทในการทำงานมากขึ้น ฉะนั้นองค์การควรศึกษา พฤติกรรมหนักงาน เพื่อเข้าใจความต้องการ เข้าถึงความรู้สึก และนำไปสู่การพัฒนาพนักงานและ องค์การ เพื่อวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาท สามารถสนอง ความต้องการของพนักงานได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้เพื่อให้รูปแบบการสร้างคุณภาพชีวิดในการ ทำงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของพนักงานแต่ละฝ่ายหรือแผนก ตลอดจน เหมาะสมกับคำนิยมวัฒนธรรมองค์การ องค์กรควรเข้าไปศึกษาพฤติกรรมพนักงานในฝ่ายนั้นๆ ไม่ควรวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพเดียวเพื่อเป็นสูตรสำเร็จ แล้วใช้ พัฒนากับทุกฝ่ายขององค์การการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยระดับคุณภาพชีวิดการทำงาน และวิจัยความสัมพันธ์ ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ โดยทำการวิจัยแรงานต่างด้าวสัญชาติ พม่าที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานจัดหางานอย่างถูกล้องดามกฎหมาย และทำงานอยู่ในโรงงานผลิต อาหาร อาหารกระป้อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาครทั้งสิ้น 7 โรงงาน จำนวน 375 คน ใช้ การสัมภาษณ์และแบบสอบถามในการเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ด้านคุณลักษณะของ ผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน 6 ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าตอบแทนที่ เพียงพอและยุติธรรม สภาพการทำงานที่ปลอดภัย โอกาสในการเพิ่มและพัฒนาขีดความสามารถ ในการทำงาน การทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น สิทธิและเสรีภาพในการทำงาน ความสมดุระหว่างานกับชีวิดส่วนตัว และด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน 3 ด้าน ซึ่ง ประกอบไปด้วย ความระลึกและกล่าวถึงองค์การในเชิงบวก ความปรารถนาเป็นสมาชิกของ องค์การต่อไป และความทุ่มเทในการทำงาน นำข้อมูลที่ไห้ประมวลผลและวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) ในการบรรยายข้อมูลเบื้องต้นผู้วิจัย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ((Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ((Standard Deviation: S.D.) และใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi- square Test) เป็นสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ในการทคสอบสมมติฐานที่ ได้ตั้งไว้ ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมแรงานต่างด้าวสัญชาติพม่ามีคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ใน ระดับพึงพอใจมาก โดยมีระดับความพึงพอใจมากเกือบทุกด้าน สำหรับระดับความพึงพอใจมาก ที่สุดคือด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย โดยมีค่าเฉลี่ย 2.87 รองลงมาคือด้านสิทธิเสริภาพในการทำงาน โดยมีค่าเฉลี่ย 2.83 และด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิดส่วนตัว โคยมีค่าเฉสี่ย 2.78 ยกเว้นค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุดิธรรมเพียงด้านเดียวที่มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ค่าเฉลี่ย 2.26 สะท้อนให้เห็นว่าในภาพรวม (Total Compensation) แรงงานพม่าล้วนพึงพอใจมาก กับสวัสดิการและคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ชี้ให้เห็นชัดเจนว่า สถานประกอบการ สามารถบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานต่างตัวเรื่องคำตอบแทนให้มีความ เพียงพอและยุดิธรรมได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อพิจารณาผลการวิจัยในมิติฐานเงินเดือน (Base Salary) พบว่า แรงานพม่ายังมีความกังวลในเรื่องของเงินล่วงเวลา (OT) ที่น้อยลง และค่าครองชีพใน ประเทศไทยที่สูงขึ้น ส่งผลให้การเก็บออมรายได้บางส่วนเพื่อใช้จ่ายในอนาคตไม่เพียงพอ ด้วยเหตุ นี้จึงทำให้ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมมีระดับความพึงพอใจปานกลาง ฉะนั้นการปรับ ขึ้นค่าแรงจึงไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด แต่ควรปรับค่าครองชีพให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ รายได้ ประกอบกับสถานประกอบการควรมีสวัสดิการให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายประเภทอื่น ๆ ที่ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพของแรงงานด้วย เช่น อาหารกลางวัน ที่พักพนักงาน รถรับส่ง เป็น ต้น เพื่อให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตการทำงานด้านคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมดียิ่งขึ้น สำหรับการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของแรงานต่างด้าวพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงานทั้ง 6 ด้านน มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ องค์การของแรงานต่างด้าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ซึ่งเป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง ไว้ทั้ง6 ข้อ นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบว่า หากคุณภาพชีวิตในการทำงานดีย่อมส่งผลให้แรงงาน ต่างด้าวเกิดความผูกพันต่อองค์การ ทำให้มีความปรารถนาเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป มีความ ระลึกถึงองค์การเสมอ อยากมีส่วนร่วมต่อองค์การและปฏิบัติดามกฎระเบียบขององค์การ ตลอดจน กล่าวถึงองค์การในเชิงบวกและมีความทุ่มเทในการทำงานมากขึ้น ฉะนั้นองค์การควรศึกษา พฤติกรรมหนักงาน เพื่อเข้าใจความต้องการ เข้าถึงความรู้สึก และนำไปสู่การพัฒนาพนักงานและ องค์การ เพื่อวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาท สามารถสนอง ความต้องการของพนักงานได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้เพื่อให้รูปแบบการสร้างคุณภาพชีวิดในการ ทำงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของพนักงานแต่ละฝ่ายหรือแผนก ตลอดจน เหมาะสมกับคำนิยมวัฒนธรรมองค์การ องค์กรควรเข้าไปศึกษาพฤติกรรมพนักงานในฝ่ายนั้นๆ ไม่ควรวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพเดียวเพื่อเป็นสูตรสำเร็จ แล้วใช้ พัฒนากับทุกฝ่ายขององค์การ146 แผ่นapplication/pdfthaผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)พนักงาน -- ทัศนคติความผูกพันแรงงานต่างด้าวแรงงานต่างด้าวพม่าคุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของพนักงาน : กรณีศึกษาแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า โรงงานผลิตอาหาร อาหารกระป๋อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาครQuality of working life that influence employee’s commitment : a case study of Myanmar migrant worker in canned food and frozen food industry of Samut Sakhontext--thesis--master thesis10.14457/NIDA.the.2015.143