ฑิตยา สุวรรณะชฎ, 2474-, อาจารย์ที่ปรึกษาเสรี เจริญศิริ2014-05-052014-05-051971http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1057วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2514.ผู้เขียนวิทยานิพนธ์มุ่งศึกษาผู้สำเร็จการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498-2509 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่า ผู้สำเร็จการศึกษาในด้านนี้มีความซาบซึ้งต่อวิชาการเพียงใด มีความขัดข้องใจ หรือมีโอกาสได้ประยุกต์วิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการปฏิบัติงานในชีวิตจริงเพียงใด มีอะไรที่เป็นปัญหาและข้อจำกัดในการประยุกต์วิชาการ และถ้าผู้ที่สำเร็จการศึกษาอยู่ในสภาพที่ไม่อาจประยุกต์วิชาการได้นั้น เขามีความยุ่งยากเพียงไร.จากผลการศึกษาผู้เขียนสรุปไว้ดังนี้คือ1. ผู้สำเร็จการศึกษาพึงพอใจต่อหน่วยงานเดิมก่อนเข้าศึกษานั้น ยอมรับและซาบซึ้งในทฤษฎีและวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์มากกว่า.2. ผู้สำเร็จการศึกษาส่วนใหญ่มีความข้องคับใจต่อวงการบริหารของไทยอยู่มาก3. ผู้สำเร็จการศึกษามีโอกาสและได้ประยุกต์วิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์มากและผู้ที่มีโอกาสได้ศึกษาเพิ่มเติมทั้งภายในและต่างประเทศมีโอกาสและได้ประยุกต์วิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้มากกว่า.4. ผู้ที่ไม่สามารถประยุกต์วิชาการได้นั้นไม่ได้แสดงความข้องคับใจออกมาเด่นชัด5. ในการปฏิบัติงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อปริมาณความรับผิดชอบที่มีปริมาณมากแม้ประโยชน์ตอบแทนความรับผิดชอบนั้นจะน้อยก็ตาม6. ในด้านการบังคับบัญชา ผู้สำเร็จการศึกษามีแนวโน้มเอียงรู้สึกชอบผู้บังคับบัญชาแบบอัตตาธิปไตยมากกว่า.131 หน้า.application/pdfthaผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์LG 395 .T3 ส57รัฐประศาสนศาสตร์ -- การศึกษาและการสอนการประยุกต์วิชาการของผู้สำเร็จการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์text--thesis--master thesis