อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์วศิน แก้วชาญค้า2023-01-032023-01-032015b191160https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6121วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558วิทยานิพนธ์เรื่อง ผลกระทบจากการบริการของแท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์ รูปแบบการเผชิญ และความตั้งใจกลับไปใช้บริการ โดยมีบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา ผลกระทบจากการบริการแท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์ รูปแบบการเผชิญ การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม ทางเลือกการใช้บริการ ต่อความตั้งใจกลับไปใช้บริการ และสร้างตัวแบบเส้นทางความสัมพันธ์ จำแนกตามเพศ และ (2) ทดสอบว่าบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์และ รูปแบบการเผชิญ ต่อความตั้งใจกลับไปใช้บริการของผู้ใช้บริการ งานวิจัยนี้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย แบบสอบถามทางออนไลน์และการสำรวจภาคสนาม จากประชาชนทั่วไปที่เคยใช้บริการแท็กซี่ มิเตอร์ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 501 คน (เพศชาย 206 คน และเพศหญิง 295 คน) ในเพศชายจะมีพฤติกรรมการเผชิญแบบจัดการโดยตรงแม้จะมีความกลัวอยู่ในใจ แต่ใน เพสหญิงอารมณ์เชิงลบที่เกิดขึ้นจะเป็นอารมณ์ที่มีความซับช้อนในรูปแบบความกลัวผสมกับความ โกรธ ซึ่งความโกรธเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวกับรูปแบบการเผชิญ เมื่อ ผู้โดยสารเพศหญิงโกรธและกลัวในเวลาเดียวกัน จะใช้มีการเผชิญแบบการจัดการโดยตรงและการ เผชิญแบบแสวงหาการสนับสนุนมากขึ้น แต่จะมีการเผชิญแบบหลีกเลี่ยงน้อยลง172 แผ่นapplication/pdfthaผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)แท็กซี่มิเตอร์การบริการผลกระทบจากการบริการของเท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์รูปแบบการเผชิญ และความตั้งใจกลับใช้บริการ โดยมีบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับThe effect of taxi service on emotions, coping style, and intentions to use : the moderation role of personalitytext--thesis--master thesis10.14457/NIDA.the.2015.109