ธวัชชัย ศุภดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาอภิญญ์ คุ่ยชูชีพ2014-05-052014-05-052011http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2007วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการ เจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบของถั่วเหลือง รวมทั้งศึกษาลักษณะทางเคมี ปริมาณธาตุ อาหาร และการสะสมโลหะหนักในดิน โดยพืชทดลองที่ใช้เป็นถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60 ทำการปลูกในพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ระหว่างเดือนสิงหาคม ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2553 วาง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ หน่วยการทดลองใช้น้ำสกัดชีวภาพที่มีส่วนผสมจากน้้ามะพร้าว ต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 0 : 100, 25.0 : 75.0, 50.0 : 50.0, 75.0 : 25.0, 100 : 0 ปุ๋ยเคมีสำหรับ พืชไร่สูตร (12.0 – 24.0 – 12.0) และหน่วยการทดลองควบคุม รวม 7 หน่วยการทดลอง จำนวน 4 ซ้ำผลการศึกษา พบว่า ถั่วเหลืองที่ได้รับน้้าสกัดชีวภาพที่มีส่วนผสมของน้้ามะพร้าวต่อน้ำ ธรรมดาในอัตราส่วน 100 : 0 มีประสิทธิภาพต่อการเจริญเติบโตทางลำต้นและใบ การเจริญเติบโต ทางการแพร่ขยายพันธุ์ ผลผลิตและองค์ประกอบโดยรวมของผลผลิตดีกว่าน้ำสกัดชีวภาพที่มี ส่วนผสมของน้ำมะพร้าวต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วนอื่น ๆ แต่ผลก็ยังต่ำกว่าเมื่อเทียบกับปุ๋ยเคมี ทั้งนี้เนื่องจากปุ๋ยเคมีตอบสนองต่อความต้องการของพืชในทันทีและดีกว่าน้ำสกัดชีวภาพ อย่างไรก็ ตามการใช้ประโยชน์ในระยะยาวน้ำสกัดชีวภาพจะสามารถปรับปรุงโครงสร้างดินและลดการ สะสมโลหะหนักในดินได้ดีกว่าปุ๋ยเคมี สรุปได้ว่า น้ำสกัดชีวภาพจากที่มีส่วนผสมของน้ำมะพร้าว ต่อน้ำธรรมดาในอัตราส่วน 100 : 0 เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสมในการใช้เป็นอาหารเสริมสำหรับการ ปลูกถั่วเหลือง12, 170 แผ่น ; 30 ซม.application/pdfthaผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)น้ำหมักชีวภาพRS 201 .E9 อ16 2011สารสกัดจากพืชการใช้น้ำมะพร้าวเป็นส่วนผสมของน้ำสกัดชีวภาพเพื่อเป็นอาหารเสริมในการผลิตถั่วเหลืองUtilizing coconut water mixed bio-extracted water as plant supplements for soybean productiontext--thesis--master thesis10.14457/NIDA.the.2011.58