วิชัย อุตสาหจิตชัยณรงค์ สีหะ2014-05-052014-05-052001b110468http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/672วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2544บริหารทรัพยากรมนุษย์ที่เน้นการการตอบสนองความต้องการของพนักงานและการพัฒนาความสามารถในการทำงาน บริษัทมีการดำเนินการสร้างเสริมอำนาจให้พนักงาน 4 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ ขั้นดำเนินการ ขั้นตรวจสอบ ขั้นประเมินผล ปรับปรุงและสร้างมาตรฐาน จากการดำเนินงานพบว่า พนักงานมีความกระตือรือร้นและร่วมมือกันทำงานส่งผลให้ผลิตภาพในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ปัญหาอุปสรรคที่พบเป็นปัญหาจากขั้นตอนการดำเนินการและแนวทางการสื่อสารที่ชัดเจนไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมอำนาจให้พนักงานบางคน การสร้างเสริมอำนาจให้พนักงานสิ่งสำคัญที่ต้องพิจาณาก่อนนำไปปรับใช้ในองค์กร คือ โครงสร้างองค์กร วัฒนธรรมองค์กรและพนักงานในองค์กร นอกจากนี้ ยังต้องพิจารณาที่ผู้นำและต้องกำหนดวิธีดำเนินการให้สอดคล้องกับแนวทางการบริหารจัดการขององค์กร การสร้างเสริมอำนาจให้พนักงานได้และผู้วิจัยได้นำเสนอประเด็นหลักที่อาจใช้แนวทางเพื่อการนำไปประยุกต์ใช้กับองค์กรอื่น 6 ประการ คือ 1) การติดต่อสื่อสาร 2) ค่านิยมหลัก 3) วัฒนธรรมองค์กร 4) การยอมรับข้อตกลงร่วมกัน 5) การควบคุมที่เหมาะสม และ 6) ความคิดสร้างสรรค์257 แผ่นapplication/pdfthaผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)บริษัทยางสยามอุตสาหกรรม -- การบริหารงานบุคคล -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้างอุตสาหกรรมยางรถ -- ไทย -- การบริหารงานบุคคล -- การมีส่วนร่วมของลูกจ้างการมอบอำนาจหน้าที่ให้พนักงาน -- ไทยการสร้างเสริมอำนาจให้พนักงานในองค์กร : กรณีศึกษาบริษัทยางสยามอุตสาหกรรมจำกัดtext--thesis--master thesis10.14457/NIDA.the.2001.426