พหุนิยมทางกฎหมายและการบริหารงานยุติธรรมอิสลามในประเทศไทย
Files
Publisher
Issued Date
2019
Issued Date (B.E.)
2562
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
305 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b210972
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
เชิดชาย จันทรัตน์ (2019). พหุนิยมทางกฎหมายและการบริหารงานยุติธรรมอิสลามในประเทศไทย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6340.
Title
พหุนิยมทางกฎหมายและการบริหารงานยุติธรรมอิสลามในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Legal pluralism and the administration of islamic justice in Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์นี้ศึกษาวิจัยการบริหารงานยุติธรรมอิสลามในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อนำเสนอแนวทางการบริหารงานยุติธรรมอิสลามที่เหมาะสมในประเทศไทย เนื่องจากแม้ได้มีการ ให้ใช้กฎหมายอิสลามในประเทศไทยมาเป็นเวลานาน แต่กฎหมายยังขาดความชัดเจนทั้งในด้าน เนื้อหาและการนำไปใช้ในทางปฏิบัติ การศึกษาได้ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพร่วมกับการสัมภาษณ์เชิง ลึก โดยได้นำแนวคิดพหุนิยมทางกฎหมายมาเป็นกรอบมองระบบโครงสร้างการบริหารงานยุติธรรม อิสลามในประเทศที่มีพลเมืองส่วนน้อยนับถือศาสนาอิสลาม เพื่อนำมาเปรียบเทียบปรับใช้กับประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าการใช้กฎหมายอิสลามในลักษณะพหุนิยมที่กฎหมายอิสลามนำมาใช้กับ เฉพาะผู้นับถือศาสนาอิสลามในเรื่องครอบครัวและมรดก ประเทศต่าง ๆ ได้สร้างกลไกการใช้ กฎหมายอิสลามโดยเฉพาะขึ้นอย่างเป็นระบบที่ประกอบไปด้วย องค์กรตัดสินคดี องค์กรรับรองทางทะเบียน การสร้างความเป็นเอกภาพทางการใช้กฎหมายอิสลาม ตลอดจนการเชื่อมประสานกับระบบ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมของรัฐที่ใช้กับพลเมืองทั่วไปอย่างชัดเจน ดังนี้การพัฒนาการ บริหารงานยุติธรรมอิสลามในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการจัดการโครงสร้างการใช้ กฎหมายอย่างเป็นระบบ โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดขอบเขตเนื้อหาแห่งคดีที่จะนำกฎหมายอิสลามมา ใช้ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น การมีองค์กรตัดสินคดีที่มีรูปแบบสอดคล้องกับทั้งหลักศาสนาและระบบกฎหมายแห่งรัฐที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย จัดรูปแบบองค์กรที่เกี่ยวเนื่องกับการใช้กฎหมายอิสลามให้มีแบบแผน และสถานะทางกฎหมายที่ชัดเจน พร้อมทั้งขยายขอบเขตทางพื้นที่การใช้กฎหมายอิสลามเพื่อให้สิทธิแก่ผู้นับถือศาสนาอิสลามที่จะนำกฎหมายอิสลามว่าด้วยครอบครัวและมรดกมาใช้กับตนได้โดยทั่วถึงทั้งประเทศต่อไป
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ด.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562