กระบวนการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของละครเวทีในประเทศไทย
Publisher
Issued Date
2018
Issued Date (B.E.)
2561
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
167 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b205821
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชัยภัทร ปิติสุตระกูล (2018). กระบวนการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของละครเวทีในประเทศไทย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6487.
Title
กระบวนการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของละครเวทีในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Marketing communication process of social media in Thai theater
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยเพื่อศึกษากระบวนการทํางานในการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อ
สังคมออนไลน์ของละครเวทีในประเทศไทย เพื่อใช้เป็นแนวทางการวางแผนและการใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ในการสื่อสารการตลาดของละครเวทีในประเทศไทยอนาคต โดยการวิจัยนี้เป็นการวิจัย
เชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงเจาะลึก (In-Depth Interview) ผู้ที่ทําหน้าที่
ดูแลเรื่องการประชาสัมพันธ์และการสื่อสารการตลาด หรือผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับงานในส่วน
ดังกล่าว จากนั้นจึงนําข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทั้งหมดมาประกอบร่างและแยกเป็นประเด็นต่างๆ
ที่มีความเชื่อมโยงกัน จากนั้นจึงมาประกอบการศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง
(Documentary Source)
ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ของละครเวทีใน
ประเทศไทย เน้นการสื่อสารเนื้อหาของละครเวที มีจุดประสงค์หลักเพื่อสร้างการรับรู้ เริ่มตั้งแต่การ
วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการทําการตลาดของละครเวทีแต่ละเรื่อง จากนั้นจึงการดําเนินการ
สื่อสารการตลาดโดยใช้ข้อมูลหรือเนื้อหาที่ได้มาจากกระบวนการผลิตละครเวที มีนําเสนอข้อมูล
อย่างต่อเนื่อง โดยใช้กลยุทธ์การนําเสนอความเคลื่อนไหวต่างๆ เกี่ยวกับละครเวทีไปยังกลุ่มผู้รับ
สารที่เป็นกลุ่มเป้าหมายหรือผู้ชม อีกทั้งยังมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นช่องทางในการสร้าง
เครือข่ายและสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใช้งานคนอื่นๆ รวมทั้งยังนําเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริษัท
และกลุ่มละครเวทีของตนเองอีกด้วย ซึ่งแนวโน้มปริมาณการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคม
ออนไลน์ของละครเวทีในประเทศไทยน่าจะมีแนวโน้มสูงขึ้นและน่าจะมีประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้น
ด้วย เนื่องจากบริษัทและกลุ่มละครเวทีต่างๆ เห็นว่าสื่อสังคมออนไลน์เป็นช่องทางการสื่อสาร
การตลาดที่เข้าถึงผู้บริโภคได้ง่าย ต้นทุนในการดําเนินงานตํ่าหรือแทบจะไม่มี และยังสร้างการรับรู้
กับกลุ่มเป้าหมายได้ในปริมาณมาก
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561