การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ : ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่

dc.contributor.advisorสุวารี นามวงค์th
dc.contributor.authorชื่นนภา นิลสนธิth
dc.date.accessioned2022-02-04T07:55:59Z
dc.date.available2022-02-04T07:55:59Z
dc.date.issued2016th
dc.date.issuedBE2559th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559th
dc.description.abstractการวิจยัคร้ังนี้มุ่งเน้นที่จะศึกษาเรื่องการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิต วิญญาณ : ปัจจยัแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้า กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยผลัก ดันทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะที่ มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว 2) เพื่อศึกษาปัจจัยดึงดูดทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนัก ท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) ซึ่งมีประชากรกลุ่มตวัอย่าง ได้แก่ นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณใน จังหวัดเชียงใหม่จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และ ใช้สถิตการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูลหาอิทธิพลของ แรงจูงใจที่มีต่อความพึงพอใจและความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อการต้งัใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ ผลการวิจัยสามารถแบ่งตามวตัถุประสงค์พบว่า ปัจจยัผลัก ดันทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ มีอิทธิพลทางบวกต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวโดยการผ่อนคลายเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพล ทางบวกสูงสุด รองลงมาคือการพบสิ่งใหม่ความสมบูรณ์ทางกายภาพ ความภูมิใจในตนเองการ หลีกหนีและการอยู่เหนือตนเอง ตามลำดับสำหรับปัจจัยดึงดูดทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะ มีอิทธิพลทางบวกต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว โดยการมีบรรยากาศที่สงบ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทางบวกสูงสุด รองลงมา คือ การตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติการมีสถานที่ที่มีความไกลจากที่ อยู่ถาวร การมีประสบการณ์ร่วมอย่างแท้จริง การมีประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจ ตามลำดับ สำหรับ ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว มีอิทธิพลทางบวกต่อการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ นอกจากนี้ การศึกษาคร้ังนี้มีผลประโยชน์ต่อทางนักวิชาการ ได้แก่ ช่วยเติมเต็มช่องว่างทางการศึกษาเกี่ยวกบั การท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ ในฝั่งอุปสงค์ (Demand) เกี่ยวกับแรงจูงใจทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำสำหรับ ทางด้านการปฏิบัติการได้แก่ผู้ประกอบการสามารถนำผลวิจัยไปปรับใช้ในการเติมเต็มความต้องการของนักท่องเที่ยวที่มีความเฉพาะด้าน รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการท่องเที่ยว คือ จุดหมายปลายทาง ให้ตอบสนองต่อความตอ้งการอย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความพึงพอใจและ ตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำth
dc.format.extent164 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb193210th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5452th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ -- ไทย -- เชียงใหม่th
dc.subject.otherนักท่องเที่ยวต่างชาติ -- ไทย -- อุปทานและอุปสงค์th
dc.titleการท่องเที่ยวเชิงสุขภาวะด้านการพัฒนาการฟื้นฟูจิตวิญญาณ : ปัจจัยแรงจูงใจที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการตั้งใจกลับมาท่องเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา จังหวัดเชียงใหม่th
dc.title.alternativeWellness tourism on spiritual retreat : motivation that influencing tourist satisfaction and intention to revisit case study Chiang Mai Provinceth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะการจัดการการท่องเที่ยวth
thesis.degree.disciplineการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b193210.pdf
Size:
3.38 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
Collections