ขอบเขตของการเป็น"ผู้ใช้": ศึกษากรณีผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำความผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำความผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิด

dc.contributor.advisorบรรเจิด สิงคะเนติth
dc.contributor.authorพงศ์พิงค์ มูลพงศ์อนุพันธุ์th
dc.date.accessioned2017-02-15T08:07:58Z
dc.date.available2017-02-15T08:07:58Z
dc.date.issued2014th
dc.date.issuedBE2557th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2556th
dc.description.abstractในเรื่องผู้ร่วมกระทำความผิดหลายคนในคดีอาญา ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึง เฉพาะ ผู้ร่วมกระทำความผิดที่เป็นผู้ใช้ ผู้สนับสนุนเท่านั้น ในกรณีที่มีผู้กระทำความผิดหลายคน เนื่องจากในระบบกฎหมายอาญาของไทย เป็นระบบที่ยอมรับหลักการลดหย่อนโทษผุู้ร่วมกระทำความผิด ดังนั้นหากเกิดกรณีที่ต้องวิเคราะห์ว่าผู้ใดเป็นผู้ใช้ เเละผู้ใดเป็นผู้สนับสนุน ปัญหาที่เกิดขึ้นก็คือ เราจะใช้หลักเกณฑ์อะไรมาเป็๋นจุดแบ่งแยกของการาใช้เเละการสนับสนุน นอกจากนี้ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะต้องรับผิดในฐานอะไรบ้าง โดยเฉพาะเมื่อปี 2553 เนติบัญฑิตยสภาได้ออกข้อสอบกลุ่มวิชาอาญา เพื่อทดสอบนักศึกษาว่าเข้าใจหลักเรื่องผู้ใช้ ก็จะเกิดปัญหาขึ้นมาว่า ใช้หลักเกณฑ์อะไรมาเป็นจุดแบ่งแยกระหว่างผู้ใช้กับผู้สนับสนุน เนื่องจากไม่ตรงกับหลักเกณฑ์ทางตำราที่ได้ศึกษาค้นคว้าth
dc.description.abstractเพราะฉะนั้นวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงเขียนขึ้นมาด้วยเหตุผลเดียว คือ จะศึกษาถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งแยกผู้ร่วมกระทำผิด ซึ่งจะศึกษาเฉพาะความหมายของ ผู้ใช้เเละผู้สนับสนุน เเละในกรณีที่ผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิดth
dc.description.abstractรวมทั้งศึกษาถึงทฤษฎีต่างๆเพื่อนำมาอธิบายปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้นในประเทศไทย หรือที่เรียกว่า "ปัญหาในทางตำรา" อย่างเป็นระบบ โดยศึกษาในสองระบบ ทั้งในระบบCommon Law เเละระบบ Civil law โดยศึกษาหลักกฎเกณฑ์ที่ใช้ในการแบ่งแยก เเล้วนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับผู้ใช้ เเละผู้สนับสนุน ตามกำหมายไทยth
dc.description.abstractข้อมูลที่ใช้อ้างอิงในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้มาจากการค้นคว้าจากตำรา บทความ เเละงานเขียนทางตำราของนักกฎหมายที่มีชื่อเสียงทั้งไทย เเละต่างประเทศ รวมทั้งกฎหมาย เเละปัญหากฎหมายของไทย โดยนำทฤษฎีต่างๆมาวิเคราะห์กับปัญหาดังกล่าวth
dc.description.abstractท้ายที่สุดเเล้ว สิ่งที่จะได้จากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ คือ เข้าใจหลักเกณฑ์เรื่องผู้ใช้ เเละผู้สนับสนุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ในการแบ่งแยกระหว่างผู้ใช้ กับผู้สนับสนุน รวมทั้งการกระทำความผิดในฐานะที่เป็นเนื้อหาของการใช้ให้กระทำความผิด เเละมีการเปลี่ยนแปลงวัตถุที่ถูกกระทำ เพื่อสามารถนำทฤษฎีต่างๆมาวิเคราะห์ปัญหาดังกล่าวได้อย่างมีเหตุผลยิ่งขึ้นth
dc.format.extent71 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherba185724th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3340th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherความผิดทางอาญาth
dc.subject.otherความผิด (กฎหมาย)th
dc.titleขอบเขตของการเป็น"ผู้ใช้": ศึกษากรณีผู้ถูกใช้ตัดสินใจกระทำความผิดเเล้วต่อมาเปลี่ยนใจไปกระทำความผิดอันใหม่ที่เป็นผลมาจากการก่อให้กระทำความผิดth
dc.title.alternativeScope of to be the "instigator" : a study in the case where a person being instigated decided to commit an offence but later change intention to commit another offence as a result of instigation of an offenceth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะนิติศาสตร์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ba185724.pdf
Size:
3.79 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections