การปฏิบัติงานเวชระเบียนผู้ป่วยในกับการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลกลาง

dc.contributor.advisorเดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorพิรุฬห์พร แสนแพงth
dc.date.accessioned2014-05-05T08:55:15Z
dc.date.available2014-05-05T08:55:15Z
dc.date.issued2012th
dc.date.issuedBE2555th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแรงจูงใจและความรู้ในการปฏิบัติงานเวช ระเบียนผู้ป่วยในที่เกี่ยวข้องกับการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาระบบงานเวชระเบียน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล จาก แพทย์เจ้าพนักงานเวชสถิติและเจาหน้าที่ศูนยประกันสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณาอัน ได้แก่ การแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และตารางไขว้ (Crosstab) ผลการศึกษาในส่วนของแรงจูงใจและการให้ความสำคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติงานเวช ระเบียนผู้ป่วยในพบว่าประมาณร้อยละ 60 ของแพทย์ให้ความสำคัญกับการสรุปคําวินิจฉัยใน ระดับมาก โดยแพทย์ส่วนใหญ่ให้ความสําคัญต่อภาระงาน คือ งานตรวจรักษา งานสรุปคํา วินิจฉัย งานสอนนักศึกษาแพทย์และงานบริหาร ตามลําดับ ร้อยละ 80 ของเจ้าพนักงานเวช สถิติให้ความสําคัญในการให้รหัสโรค-รหัสผ่าตัดและหัตถการ ในระดับมากที่สุด และมี ค่าตอบแทน เป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานให้รหัสโรค -รหัสผ่าตัด และหัตถการส่วนเจ้าหน้าที่ศูนย์ประกันสุขภาพ ร้อยละ 60 ให้ความสำคัญในการส่งข้อมูลชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ในระดับมาก และเห็นว่าการปฏิบัติงานส่งข้อมูลชดเชยค่าบริการทางการแพทย์เป็นหน้าที่ที่ต้องทํา สําหรับความรู้เรื่องการเบิกจ่ายค่าบรการทางการแพทย์ นั้ นแพทย์ส่วนใหญ่มีความรู้ใน ระดับมาก พบว่าข้อที่ตอบถูกมากที่สุดคือ หากทำการสรุปคำวินิจฉัยล่าช้า จะทำให้มีผลกระทบ ต่อรายรับของโรงพยาบาล แต่ก็ยังมแพทย์จํานวนไม่น้อยที่เข้าใจ ผู้ป่วยสิทธิต้นสังกัด ต้องส่งข้อมูลเบิกชดเชยภายใน 45 วัน ซึ่งในความเป็นจริงต้องส่งข้อมูลให้ทันภายใน 30 วันหลัง ผู้ป่วยจําหน่าย เจ้าพนักงานเวชสถิติส่วนใหญ่มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเบิกจ่ายค่าบริการ ทางการแพทย์ทุกข้อ ส่วนเจ้าหน้าที่ศูนย์ประกันสุขภาพส่วนใหญ่มีความรู้เรื่องการเบิกจ่าย ค่าบริการทางการแพทย์ในระดับมาก อย่างไรก็ดีกลุ่มที่มีความรู้เรื่องการบิกจ่ายค่าบริการทางการแพทย์มากที่สุดคือ เจ้าพนักงานเวชสถิติรองลงมาคือ เจ้าหน้าที่ศูนย์ประกันสุขภาพth
dc.format.extent112 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2012.15
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/489th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccRA 976 พ39 2012th
dc.subject.otherเวชระเบียนth
dc.subject.otherสารสนเทศทางการแพทย์th
dc.titleการปฏิบัติงานเวชระเบียนผู้ป่วยในกับการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลกลางth
dc.title.alternativeOperation on medical records of in-patient and the request of money for the compensation of medical services : case study of Bangkok Metropolitan Administration General Hospitalth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะสถิติประยุกต์th
thesis.degree.disciplineสถิติประยุกต์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์)th
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b176364.pdf
Size:
2.72 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections