แนวทางการพัฒนาระบบ กลไก การบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

dc.contributor.advisorเดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorบุศรา สาระเกษth
dc.date.accessioned2014-05-05T08:55:19Z
dc.date.available2014-05-05T08:55:19Z
dc.date.issued2012th
dc.date.issuedBE2555th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012th
dc.description.abstractการศึกษาครึ่งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพปัจจุบัน ความต้องการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบ กลไกการบริหารจัดการงานวิจัยในมหาวิทยาลัยราชภัฏ และปัจจัยที่มีผลต่อความ ต้องการในการพัฒนาระบบกลไกการบริหารงานวิจัย รวมทั้ง ศึกษาปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการงานวิจัย เพื่อนำไปเป็นแนวทางปรับปรุง ระบบกลไกการบริหารจัดการงานวิจัยให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และครอบคลุมตามความ ต้องการของผู้ปฏิบัติมากยิ่งขึ้น ศึกษาโดยการสํารวจ (Survey) อาจารย์นักวิจัยในมหาวิทยาลัย ราชภัฏ 40 แห่ง ใช้ขนาดต้วอย่างทั้งสิ้น 390 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิสองขั้น (Two– Stage Stratified Sampling) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและวิเคราะห์การถดถอย (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่าสภาพการบริหารจัดการงานวิจัยปัจจุบัน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ตามวงจร PDCA สามารถปฏิบัติได้ในระดับดีการกําหนดยุทธศาสตร์นโยบาย แผนงานเป้าหมายของการบริหารงานวิจัย สามารถทําได้ค่อนขางชัดเจนและสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการวิจัย ทั้งระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งมาตรฐานการศึกษาและตัวบ่งชี้คุณภาพ แต่ที่สามารถปฏิบัติไดในระดับปานกลาง ไดแก้ การมีส่วนรวมในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายเชิงกลยุทธ์สนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์และการสนับสนุนห้องปฏิบัติการ วิจัย หน่วยวิจัย หรือศูนย์เครื่องมือสนับสนุนการวิจัย การให้รางวัล ค่าตอบแทน กับนักวิจัยในการตีพิมพ์เผยแพร่การรวบรวม คัดสรร วิเคราะห์สังเคราะห์ความรู้จากงานวิจัย เพื่อเป็องค์ ความรู้ให้ คนทั่วไปเข้าใจ และการอำนวยความสะดวกในการจัดการทรัพย์สินทางปริญญาจาก การวิจัย นอกจากนี้ยังต้องการให้พัฒนาระบบ กลไกการบริหารจัดการงานวิจัยขั้นสุดท้ายของการวิจัยในการนําผลงานวิจัยไปตีพิมพ์เผยแพร่ หรือนำไปใช้ประโยชน์หลังเสร็จสิ้นโครงการแล้วมากที่สุด ทั้งนี้ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธั กับความต้องการในการพัฒนาด้านระบบกลไก การบริหารจัดการงานวิจัย คือ ระดับการศึกษามีความสมพันธ์เชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ปัจจัยด้านประสบการณ์ในการทําวิจัย ที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการในการพัฒนาด้านระบบ กลไกการบริหารจัดการงานวิจัย คือ ตําแหน่งทางวิชาการโดยผู้ที่มีตําแหน่งทางวิชาการมความต้องการในการพัฒนาด้านระบบ กลไกการบริหารจัดการงานวิจัยต่ำกว่าผู้ที่ไม่มีตําแหน่งทางวิชาการ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.10 ปัจจัยดั านสภาพการบริหารจัดการงานวิจัย ที่มีความสัมพั นธ์กับความต้องการในการพัฒนาด้านระบบ กลไกการบริหารจัดการงานวิจัย คือ การติดตาม ประเมนผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพั นธ์เชิงบวกที่ระดับนัยสําคัญ 0.01 โดยปัญหาและอุปสรรคที่พบมากที่สุดคือเรื่องของเวลา เนื่องจากคณาจารยไม่มีเวลาในการทําวิจัยและมีภาระงานอื่นมากth
dc.format.extent103 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2012.8
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/511th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccQ 180 บ48 2012th
dc.subject.otherวิจัย -- การบริหารth
dc.titleแนวทางการพัฒนาระบบ กลไก การบริหารจัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏth
dc.title.alternativeThe guidelines of system and mechanism development for research management of Rajabhat Universitiesth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะสถิติประยุกต์th
thesis.degree.disciplineสถิติประยุกต์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์)th
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b176365.pdf
Size:
5.35 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections