โครงสร้างรายได้รายจ่ายและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดสรรงบประมาณของเทศบาล

dc.contributor.advisorอุดม ทุมโฆสิต, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorพรทิพย์ กาญจนานนท์th
dc.date.accessioned2014-05-05T09:15:48Z
dc.date.available2014-05-05T09:15:48Z
dc.date.issued2010th
dc.date.issuedBE2553th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ด.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010th
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (ก) โครงสร้างรายได (ข) การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของเทศบาล (ค) ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อการจัดสรรงบประมาณจำแนกเป็น 6 ด้าน ได้แก่ รายจ่ายรวมรายจ่ายด้านบริหารทั่วไป รายจ่ายด้านการศึกษา รายจ่ายด้านสาธารณสุข รายจ่ายด้านเคหะและชุมชนและรายจ่ายด้านอุตสาหกรรมและโยธา (ง) การศึกษาเปรียบเทียบ ปัจจัยที่มีอิทธพลต่อรายจ่ายทั้ง 6 ด้านการวิเคราะห์ใช้ข้อมูลรายปีจํานวน 4 (2548-2551) กรณี ตัวอย่างได้แก่เทศบาลนคร 10 แห่งเทศบาลเมือง 48 แห่งและเทศบาลตําบล 448 แห่ง ผลการศึกษาโครงสร้างรายได้พบว่าเทศบาลยงพึ่งพารายได้จากรัฐบาลในสัดส่วนที่สูง รายได้ที่จัดเก็บเองเพียงร้อยละ 7 เทศบาลนครและเทศบาลเมืองมรายได้จัดเก็บเองสูงกว่า เทศบาลตำบลอย่างมาก แต่รายได้จากเงินอุดหนุนของรัฐบาลและภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บให้และ แบ่งให้ช่วยทำใหรายได้เฉลี่ยต่อหัวของเทศบาลทั้ง 3 ประเภทไม่แตกต่างกันมากนักเทศบาลในภาคใต้มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงที่สุดและต่ำสุดคือเทศบาลในภาคตะวนออกเฉียงเหนือ และมีความ ไม่เท่าเทียมกันสูงในภาคต่างๆ การวิเคราะห์ด้านรายจ่ายพบว่าเทศบาลมีการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพมขึ้นทุกปีด้าน ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสูงสุดคือด้านเคหะชุมชน รองลงมาคือด้านบริหารทั่วไปและมีแนวโน้มที่จะจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้นในรายจ่ายเกี่ยวกับสวัสดิการเช่นการศึกษาสาธารณสุข และสังคมสงเคราะห์เทศบาลมีรูปแบบความต้องการในบริการสาธารณะเปลี่ยนแปลงไปตาม ระดับของความเจริญ เทศบาลนครและเทศบาลเมือง รวมทงเทศบาลที่มีรายได้สูงเช่นเทศบาล ภาคใต้ใหความสำคัญกับงบประมาณด้านการศึกษา ในขณะทเทศบาลที่มีความเจริญน้อยและมีรายได้น้อยเช่นเทศบาลตาบและเทศบาลในภาคตะวนออกเฉียงเหนือให้ความสำคญกับรายจ่ายด้านโครงสร้างพื้นฐานการทดสอบข้อมูลเชิงประจักษ์กับทฤษฎสรุปได้ว่า (ก) ทฤษฎี Incrementalist อธิบายการ จัดสรรงบประมาณของเทศบาลได้ดีที่สุด การจัดสรรงบประมาณส่วนใหญ่ใช้ประสบการณ์ปีที่ ผ่านมาเป็นฐานเนื่องจากรัฐบาลจัดสรรเงินอุดหนุนและภาษให้เทศบาลไม่ให้น้อยกว่าปีที่ผ่านมา การจัดสรรงบประมาณโดยอ้างปีที่ผ่านมาจงลดความเสี่ยงจากความไม่เพียงพอของทรัพยากร และ ลดความขัดแย้งระหว่างสภาเทศบาลกับฝ่ายบริหาร และเทศบาลตำบลจัดสรรงบประมาณเกือบทุกด้านเป็นไปตามทฤษฎีดังกล่าวมากกว่าเทศบาลนครและเทศบาลเมือง (ข) นอกจากนี้ยังไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างปีที่มีการเลือกตั้งกับการเพิ่มขึ้นของงบประมาณตามตัวแบบ Political Business Cycle เนื่องจากเทศบาลมการเลือกตั้งไม่พร้อมกันและอาจมีรายจ่ายเพิ่มขึ้นโดยจ่ายขาดจากเงินสะสมหรือเงินอุดหนนเฉพาะกิจ (ค) Median Voter Model ไม่สามารถอธิบายการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของเทศบาลในช่วงเวลาของการเปลี่ยนผ่านนได้ด้วยยังคงมีการทับซ้อนกันของการใหบริการสาธารณะในพื้นที่และ (ง) Budget-Maximizing Bureaucrat Theory ไม่ชัดเจนพอที่จะอธิบายการจัดสรรงบประมาณของเทศบาลได้ว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์ของบุคลากรเทศบาลเองแม้จะพบว่าสัดส่วนของบุคลากรมความสัมพันธ์กับรายจ่ายบางประเภทกตาม ข้อเสนอนะจากการคนพบ(ก)รัฐบาลควรเพิ่มภาษีที่เทศบาลจัดเก็บเองทั้งขยายฐาน ภาษีและให้อิสระในการกำหนดอัตราภาษีและค่าธรรมเนียมเองได้ (ข) ยกเลิกเงินอุดหนุนแบบ กําหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้เทศบาลตัดสนใจใช้จ่ายเงินได้โดยอิสระ(ค) การจัดสรรเงินอุดหนุนควรยึดหลักความพอเพียงต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมาย และความเท่าเทียมกันในภาคต่างๆด้วย รวมทั้ง ) รัฐบาลควรสนับสนุนให้ประชาชนมีช่องทางในการแสดงความต้องการของตนเองเพื่อให้การจัดสรรงบประมาณในการให้บริการสาธารณะตอบสนองความต้องการของประชาชนใน ท้องถิ่นอย่างแท้จริงงจะทำให้การจัดสรรงบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคลองกับ เจตนารมณ์ของนโยบายกระจายอำนาจการปกครองให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นth
dc.format.extent13, 211 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/949th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccHJ 9574.55 พ17 2010th
dc.subject.otherเทศบาล -- งบประมาณth
dc.subject.otherเทศบาล -- รายได้th
dc.titleโครงสร้างรายได้รายจ่ายและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดสรรงบประมาณของเทศบาลth
dc.title.alternativeRevenue structure, expenditure structure, and factors affecing municipal budget allocationth
dc.typetext--thesis--doctoral thesisth
mods.genreDissertationth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะรัฐประศาสนศาสตร์th
thesis.degree.disciplineรัฐประศาสนศาสตร์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelDoctoralth
thesis.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-diss-b166943.pdf
Size:
10.42 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text