ความขัดแย้งจากโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย)

dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ ชมพันธุ์th
dc.contributor.authorอภิชัย สิงห์ศรีth
dc.date.accessioned2018-07-05T09:02:38Z
dc.date.available2018-07-05T09:02:38Z
dc.date.issued2017th
dc.date.issuedBE2560th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560th
dc.description.abstractในการaพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของประเทศนำไปสู่การขยายตัวของนิคมอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจนั้น อาจทำให้ส่งผลกระทบกับชุมชนใกล้เคียง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่อาจทำให้เกิดความขัดแย้งระหว่างชุมชนและผู้พัฒนาโครงการ งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสาเหตุปัญหาความขัดแย้ง  รวมถึงเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ให้ชุมชนและโครงการพัฒนายอมรับที่จะอยู่ร่วมกันได้ กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้มีส่วนได้เสีย 40 คน จากการศึกษาพบว่าสาเหตุความขัดแย้งตามวงกลมแห่งความขัดแย้ง ได้แก่ ความเชื่อของประชาชนด้านลบเกี่ยวกับผลกระทบของพื้นที่รอบข้างเขตอุตสาหกรรมที่ปลูกฝังมาจากเหตุการณ์ในอดีต และประชาชนยังไม่เชื่อมั่นในความโปร่งใสของขั้นตอนการขอพิจารณาอนุญาตประกาศจัดตั้งเขตพื้นที่อุตสาหกรรม และก่อสร้างโครงการ จนนำไปสู่การไม่ยอมรับจากภาคประชาชน ในขณะที่ประชาชนยังขาดการรับรู้ข้อมูลโครงการ ซึ่งไม่เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมที่แท้จริง เมื่อความขัดแย้งไม่ได้รับการแก้ไข ผู้พัฒนาจึงต้องชะลอการดำเนินการโครงการ ส่วนแนวทางการแก้ไขความขัดแย้งนั้นพบว่าผู้พัฒนาโครงการและหน่วยงานภาครัฐ ควรสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชน ดำเนินการอย่างโปร่งใส และดึงการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนในการในการดำเนินการตั้งแต่ระยะเริ่มแรก รวมทั้ง ผู้พัฒนาโครงการจะต้องดำเนินการตามกฎหมายและมาตรการที่เกี่ยวข้องทางสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด th
dc.description.abstractIndustrial development in the country has led to the expansion of industrial estates to accommodate economic growth. However, industrial development projects may impact nearby communities, especially mega development projects that may lead to conflicts between community and project developers. The objectives of this study are to study the causes of the conflicts, and   make recommendations on the solutions to resolve the conflicts for harmonious co-existence between communities and industrial development projects. The case study of Rayong Industrial Estate (Ban Khai) used a qualitative research methodology. Data were collected through in-depth interview with 40 stakeholders. The results show that the cause of the conflict is that many people have negative perceptions of impacts of surrounding industrial areas that they experienced in the past. Moreover, it is found that people do not trust the transparency of the procedure for obtaining permission to declare 'industrial zones' and proceed with constructions. This leads to public disapproval. People still lack awareness of project information because there is no “real” public participation. As conflicts are not resolved, project developers have to suspend their project operation. Regarding conflict resolutions, project developers and governmental agencies should increase public confidence through transparency in project approval as well as public participation from the early stages of the project. In addition, project developers will have to strictly follow environment-related laws and measures.th
dc.format.extent204 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb199699th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3733th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjecte-Thesisth
dc.subjectความขัดแย้งth
dc.subjectนิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย)th
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนth
dc.titleความขัดแย้งจากโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ : กรณีศึกษา นิคมอุตสาหกรรมระยอง (บ้านค่าย)th
dc.title.alternativeConflict from a mega industrial development Project : A case study of Rayong industrial estate park project (BANKHAI)th
dc.typetext--thesis--master thesisen
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b199699e.pdf
Size:
2.94 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
115 B
Format:
Plain Text
Description:
Collections