THE INFLUENCE OF WELL-BEING ON THE WORK POTENTIAL AMONG THE ELDERLY AT VOCATIONAL TRAINING CENTERS IN BANGKOK METROPOLIS

dc.contributorKANPITCHA KAEWONen
dc.contributorกานต์พิชชา แก้วอ่อนth
dc.contributor.advisorKasemsarn Chotchakornpanten
dc.contributor.advisorเกษมศานต์ โชติชาครพันธุ์th
dc.contributor.otherNational Institute of Development Administration. School of Public Administrationen
dc.date.accessioned2024-04-24T08:29:54Z
dc.date.available2024-04-24T08:29:54Z
dc.date.issued18/8/2023
dc.date.issuedBE561
dc.descriptionMaster of Public Administration (M.P.A.)en
dc.descriptionรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม.)th
dc.description.abstract    The objectives of this research were 1) to investigate the contributing factors affecting the elderly’s work efficiency in Vocational Training Center, Bangkok, and 2) to propose the suggestions to improve the elderly’s work efficiency in Vocational Training Center, Bangkok. It was a quantitative research study using a questionnaire to collect data from a sample, namely individuals aged 60 and above who had received vocational training at the Vocational Training Center, Bangkok, from January to June 2023. The data collection was performed using convenience sampling, and samples were collected from a voluntary selection of participants, which were members who voluntarily participated as sample units. A total of 440 people participated. The data was analyzed by Descriptive Statistics using Frequency, Percentage, Means and Standard Deviation, presented on table and descriptive interpretation. The inferential statistical analysis was performed using Multiple Regression Analysis.     The research result showed that 1) The factors of well-being had a positive influence on the potential in terms of knowledge, skills, and abilities of the elderly in the Bangkok. These included two influential variables, ranked from most to least influential including environmental conditions and health and hygiene. In contrast, behavior was the only aspect that consisted of three influential variables, ranked from most to least influential including environmental conditions, health and hygiene, and lastly, the family aspect. 2) The government should seriously allocate resources, welfare, and actively promote physical and mental health. There should be efforts to raise awareness about the value and potential of the elderly, including supporting revolving capital sources and providing community-based care for the elderly. All of this should be widespread and consistent to develop the working potential of the elderly in Bangkok.en
dc.description.abstract    การวิจัยเรื่องอิทธิพลของความอยู่ดีมีสุขต่อศักยภาพการทำงานของผู้สูงอายุในศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยความอยู่ดีมีสุขที่มีอิทธิพลต่อศักยภาพในการทำงานของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร และ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาศักยภาพในการทำงานของของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มาเข้ารับการฝึกอบรมด้านอาชีพจากศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2566 โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก (Convenience Sampling) และเก็บตัวอย่างจากความสมัครใจของผู้ตอบแบบสอบถาม (Voluntary Selection) ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างจากสมาชิกที่อาสาเข้ามามีส่วนร่วมเป็นหน่วยตัวอย่างด้วยความเต็มใจเท่านั้น ทั้งหมด 440 คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยนำเสนอในรูปแบบตารางประกอบการแปลความเชิงบรรยาย และสถิติวิเคราะห์เชิงอนุมาน คือ Multiple Regression Analysis     ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยความอยู่ดีมีสุขมีอิทธิพลทางบวกต่อศักยภาพในการทำงานด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะ (Skills) และด้านความสามารถ (Ability) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครประกอบด้วยตัวแปรที่มีอิทธิพล 2 ตัวแปร เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านสภาพแวดล้อม รองลงมา คือ ด้านสุขภาพอนามัย ส่วนด้านพฤติกรรม (Behavior) เป็นด้านเดียวที่ประกอบด้วยตัวแปรที่มีอิทธิพล 3 ตัวแปร เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านสภาพแวดล้อม รองลงมา คือ ด้านสุขภาพอนามัย และสุดท้าย คือ ด้านครอบครัว 2) ภาครัฐควรมีการจัดสรรทรัพยากร สวัสดิการ และการสร้างเสริมสุขภาพอนามัยเชิงรุกทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตอย่างจริงจัง มีการสร้างความรู้ความเข้าใจถึงคุณค่าและขีดความสามารถรวมไปถึงการสนับสนุนแหล่งเงินทุนหมุนเวียน และการลงพื้นที่ดูแลผู้สูงอายุในเขต และชุมชนต่างๆ อย่างทั่วถึงและต่อเนื่องเพื่อพัฒนาศักยภาพในการทำงานของของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6840
dc.language.isoth
dc.publisherNational Institute of Development Administration
dc.rightsNational Institute of Development Administration
dc.subjectความอยู่ดีมีสุขth
dc.subjectศักยภาพการทำงานth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectWell-beingen
dc.subjectWork Potentialen
dc.subjectElderlyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE INFLUENCE OF WELL-BEING ON THE WORK POTENTIAL AMONG THE ELDERLY AT VOCATIONAL TRAINING CENTERS IN BANGKOK METROPOLISen
dc.titleอิทธิพลของความอยู่ดีมีสุขต่อศักยภาพการทำงานของผู้สูงอายุในศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
6010111003.pdf
Size:
7.78 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
202 B
Format:
Plain Text
Description: