การศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ เขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 และ 2

dc.contributor.advisorบุญทัน ดอกไธสงth
dc.contributor.authorพรพจน์ ศรีดันth
dc.date.accessioned2014-05-05T09:17:21Z
dc.date.available2014-05-05T09:17:21Z
dc.date.issued2008th
dc.date.issuedBE2551th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008th
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการ เปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ 2) เพื่อศึกษาปัจจยที่มีผลมีอิทธพลและมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลมีอิทธพลและมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการ เปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจมากที่สุดรองลงมาจนไม่มีความสัมพันธ์เลย วิธีการศึกษาใช้การสำรวจโดยการสุ่มตัวอย่าง (Survey Research) ประชากรในการศึกษา ครั้งนี้คือผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจตามโครงการพัฒนาผู้นําแห่งการ เปลี่ยนแปลงปีการศึกษา 2550 จํานวน 463 คนโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใชในการวิเคราะห์ได้แก่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าต่ำสุดค่าสูงสุดความ แตกต่างของร้อยละไคสแควร์ (Chi-Square) Gamma (G) และ Multiple Regression ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการเปลยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจอยู่ในระดับสูง 2) ตัวแปรที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือการมีวิสัยทัศน์การมีส่วนรวมและวัฒนธรรมองค์การเมื่อวดด้วยสถิติที่วัด ความแกรงของความสัมพันธ์ G พบว่าตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริหารของผู้นํา การเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจคือวัฒนธรรมองค์การการมีส่วนรวมและการมีวิสัยทัศน์โดยมีค่าความแกร่งของความสัมพันธ์คือ .77 .67 และ .65 ตามลำดับ 3) ตัวแปรทใช้เป็น ตัวพยากรณ์ในการอธิบายพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจาย อํานาจมีเพียง 3 ตัวแปรที่มีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับต่ำกว่า .05 นั่นคือเมื่อวัดจากค่าสัมประสิทธ์ถดถอยพหุ () ซึ่งพยากรณพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการ เปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจได้ดีที่สุดและมผลในทางบวกต่อพฤติกรรมการบริหาร ของผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจได้แก่วัฒนธรรมองค์การการมีส่วนรวม และการมีวิสัยทัศน์เรียงตามลําดับความสำคัญเพศอายุการศึกษาตำาแหน่งงานและประสบการณ์ทํางานไม่สัมพันธ์และไม่ช่วยในการอธิบายพฤติกรรมการบริหารของผู้นําการเปลี่ยนแปลงเพื่อ รองรับการกระจายอำนาจตัวแปรทั้งหมดอธิบายพฤตกรรมการบริหารของผู้นําการ เปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอํานาจประมาณร้อยละ 64.4 (R= .644) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้คือ 1) กฎหมายที่เกี่ยวข้องต้องได้รับการแก้ไขให้ สอดคลองกับการกระจายอำนาจเพื่อให้สถานศึกษามีความเข้มแข็งและเกิดความคล่องตัว 2) การจัดสรรงบประมาณควรได้รับเพิ่มเติมให้เพียงพอเพื่อรองรับการกระจายอำนาจth
dc.format.extent215 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2008.4th
dc.identifier.otherb162184th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1099th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherผู้บริหาร -- ไทย -- เลย พฤติกรรมth
dc.subject.otherผู้นำทางการศึกษา -- ไทย -- เลย -- พฤติกรรมth
dc.subject.otherภาวะผู้นำทางการศึกษา -- ไทย -- เลยth
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจ เขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 และ 2th
dc.title.alternativeA study the administration behaviors of transformational leadership for the educational decentralization the office of Loei Education Area 1 and 2th
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะรัฐประศาสนศาสตร์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b162184.pdf
Size:
27.31 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections