ปัญหาการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการขอหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามมาตรา 18 และมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550

dc.contributor.advisorวราภรณ์ วนาพิทักษ์th
dc.contributor.authorแพรวนภา กองทิพย์th
dc.date.accessioned2022-01-31T07:00:25Z
dc.date.available2022-01-31T07:00:25Z
dc.date.issued2015th
dc.date.issuedBE2558th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558th
dc.description.abstractปัญหาการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการขอหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำ ความผิด ตามมาตรา 18 และ มาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัญหาการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการ ขอหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามมาตรา 18 และ มาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ของประเทศไทยเปรียบเทียบกฎหมายของ ต่างประเทศ ตลอดจนความร่วมมือระหว่างประเทศ และมาตรการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าว เพื่อนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการขอ หลักฐานที่เหมาะสมกับประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานใน การขอหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามมาตรา 18 และ มาตรา 19 แห่งพระราช บัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ยังไม่มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับ การใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการขอหลักฐานไว้โดยตรง แต่ได้มีการกำหนดให้มีพนักงาน เจ้าหน้าที่ที่เป็นบุคคลที่มีความรู้และความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์มาทำหน้าที่ในการกระทำ ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่ควรที่จะมีอำนาจหน้าที่ในการเข้าถึง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของประชาชนได้โดยไม่ต้องขอหมายจากศาลเมื่อเปรียบเทียบกับอำนาจของเจ้า พนักงานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพนักงานเจ้าหน้าที่ของต่างประเทศแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเพียงพอหรือไม่ แนวทางในการแก้ไขปัญหาการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการขอหลักฐาน ที่ เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามมาตรา 18 และ มาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 มีความจำเป็นอย่างมากในประเทศไทย ต้องมี บทบัญญัติกฎหมายเพื่อควบคุมการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ไว้เป็นการเฉพาะ โดยมีข้อยกเว้นในเรื่อง ของการยึดและค้นข้อมูลคอมพิวเตอร์ไว้ให้ชัดเจน และกำหนดให้ผู้ครอบครอง ที่ได้ทำการยึดถือหรือ ครอบครองคอมพิวเตอร์อยู่ในขณะนั้นให้มีอำนาจให้ความยินยอมแก่เจ้าหน้าที่สามารถทำการค้นและยึดข้อมูลคอมพิวเตอร์ได้โดยไม่ต้องมีหมายค้นหรือเพียงมีข้อสงสัย แต่การค้นและยึดข้อมูล คอมพิวเตอร์จะต้องไม่เกินขอบเขตของความยินยอมและในการให้ความยินยอมในการทำการค้นหา อาจถูกเพิกถอนได้จากเจ้าของข้อมูลคอมพิวเตอร์เอง เพื่อให้กฎหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้นth
dc.format.extent107 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2015.33
dc.identifier.otherb193188th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5441th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.rightsการขอหลักฐานth
dc.rightsพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550th
dc.subject.otherคอมพิวเตอร์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยth
dc.subject.otherวิธีพิจารณาความอาญาth
dc.titleปัญหาการใช้อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการขอหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามมาตรา 18 และมาตรา 19 แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550th
dc.title.alternativeThe problem of exercising power and duties of the authority in requesting evidences about the offences subject to section 18 and section 19 of computer crime act B.E. 2550th
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะนิติศาสตร์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b193188.pdf
Size:
1.84 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
Collections