การศึกษาความเป็นไปได้ในการบำบัดคุณภาพน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมโดยใช้สาหร่ายสไปรูไลนา (Spirulina platensis)

dc.contributor.advisorธวัชชัย ศุภดิษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorชลธิชา สืบวัฒนพงษกุลth
dc.date.accessioned2014-05-05T09:27:02Z
dc.date.available2014-05-05T09:27:02Z
dc.date.issued2008th
dc.date.issuedBE2551th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม) -- สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008th
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใชสาหร่าย สไปรูไลนาบําบัดน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไม ในการศึกษาได้มีการใช้สาหร่ายสไปรูไลนาที่ ปริมาณเริ่มต้น 5 ระดับ คือ 0, 400, 600, 800 และ 1 ,000 มิลลิกรัม ทําการเพาะเลี้ยงในห้องทดลองที่มีการ ควบคุมระดับการให้แสงและการเติมอากาศให้กับน้ำทิ้งตลอดเวลาแบ่งระยะเวลาในการบําบัดออกเป็น 4 ระยะคือ 0, 5, 10 และ 15 วัน ทําการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้งก่อนและหลังการทดลอง ผลจากการศึกษา พบว่า เมื่อทําการทดลองผ่านไป 5 วัน สาหร่ายได้ตายลงทั้งหมดจึงทําการหา สาเหตุการตายของสาหร่ายโดยน้ำทิ้งไปตรวจดูด้วยกล่องจุลทรรศ์ผลปรากฏว่า มีแพลงกผ์ตอนสัตว์ (Zooplankton) อยู่ในน้ําทิ้งเป็นจํานวนมาก จึงทําการทดสอบต่อโดยการนำน้ำทิ้งดังกล่าวไปกรองเอา แพลงก์ตอนสัตว์ออกจนหมดแล้วนําน้ำที่กรองแพลงก์ตอนสัตว์ออกหมดแล้วมาใช้เลี้ยงสาหร่ายเป็น ระยะเวลา 7 วัน ปรากฏว่า สาหร่ายสามารถเจริญเติบโตได้ดี จึงสรุปได้ว่าการตายของสาหร่ายเกิดจาก ถูกแพลงก์ตอนสัตว์กิน ในการศึกษาประสิทธิภาพในการบําบัดได้นําน้ำทิ้งที่ผ่านการบําบัดแล้ว 5 วัน ไปทําการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้งแล้วนํามาเปรียบเทียบกับผลการวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้งก่อนการ ทดลอง ผลปรากฏว่า หลังจากใช้สาหร่ายสไปรูไลนาบําบัดนน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงกุ้งขาวเป็นระยะเวลา 5 วัน สามารถบําบัดของแข็งแขวนลอยร้อยละ 93.75 ความเค็มร้อยละ 75.00 ตะกั่วร้อยละ 100.00 ปรอท ร้อยละ 60.37 และแคดเมียมร้อยละ 99.84 แต่ไม่สามารถบําบัดบีโอดีฟอสฟอรัสรวม ไนเตรท แอมโมเนีย ไนโตรเจนรวม และความเป็นกรด – ด่างได้ส่วนการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ประสิทธิภาพในการบําบัดกับปริมาณสาหร่ายที่ใช้และระยะเวลาในการบําบัด เนื่องจากสาหร่ายได้ตาย ลงจึงไม่สามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาที่ใช้ในการบําบัดกับประสิทธิภาพในการบําบัดได้ อย่างไรก็ตาม มีความเป็นไปได้ในการนําสาหร่ายสไปรูไลนามาใช้ในการบําบัดน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงกุ้ง ขาวแวนนาไม ถ้ามีการจัดการกับปัญหาเรื่องแพลงก์ตอนสัตว์อย่างเหมาะสมth
dc.format.extent11, 121 แผ่น : ภาพประกอบ (ภาพสีบางภาพ) ; 30 ซมth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2036th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectสาหร่ายสไปรูไลนาth
dc.subject.lccTD 755 ช17 2008th
dc.subject.otherน้ำเสีย -- การบำบัด -- ไทยth
dc.subject.otherคุณภาพน้ำ -- การบำบัด -- ไทยth
dc.subject.otherกุ้ง -- การเลี้ยง -- ไทยth
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการบำบัดคุณภาพน้ำทิ้งจากบ่อเลี้ยงกุ้งขาวแวนนาไมโดยใช้สาหร่ายสไปรูไลนา (Spirulina platensis)th
dc.title.alternativeA feasibility study using Spirulina platensis for Litopenaeus vannamei pond effluent treatmentth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b160906.pdf
Size:
20.13 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections