ทุนของสังคมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : กรณีศึกษาศูนย์ยุติธรรมชุมชนพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

dc.contributor.advisorสุวิชา เป้าอารีย์th
dc.contributor.authorณัฐพงศ์ ปัทมโรจน์th
dc.date.accessioned2019-06-14T01:28:49Z
dc.date.available2019-06-14T01:28:49Z
dc.date.issued2015th
dc.date.issuedBE2558th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การบริหารการพัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558th
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประเภทของทุนของสังคมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ และศึกษาการใช้ทุนของสังคมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ตลอดจนพิจารณาถึงปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์และแนวทางในการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับทุนสังคมเพื่อเป็นกลไกในการแก้ไขข้อพิพาทตามกระบวนการ ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ วิธีการศึกษาใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูล จากเจ้าหน้าที่ศูนย์ยุติธรรมชุมชน เครือข่ายศูนย์ยุติธรรมชุมชน เจ้าหน้าที่ตำรวจ และ ผู้ที่มาขอความ ช่วยเหลือการไกล่เกลี่ย รวมทั้งสิ้น 24 คนth
dc.description.abstractผลการศึกษา พบว่า การใช้ทุนของสังคมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในชุมชนพนมสารคาม มี 3 ประเภท คือ 1) ทุนสังคม 2) ทุนมนุษย์ 3) ทุนวัฒนธรรม โดยทั้ง 3 ทุนที่กล่าวมา นั้นเป็นทุนที่มีอยู่ในสังคมเป็นส่วนผสมที่สำคัญในการใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ใน การไกล่เกลี่ยนั้นจะประสบความสำเร็จหรือล้มเหลวขึ้นอยู่กับการประยุกต์ทุน 3 ทุน ที่กล่าวมานี้มา ใช้ในกระบวนการยตุิธรรมเชิงสมานฉันท์ได้มากน้อยเพียงใดth
dc.description.abstractในด้านปัญหาและอุปสรรคในการใช้ทุนของสังคมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ พบว่า มีปัญหาและอุปสรรคอยู่ 4 ด้าน ดังนี้ 1) ปัญหาด้านอารมณ์ของผู้เข้ารับการไกล่เกลี่ย 2) ปัญหาด้านบุคลากรไม่สมดุลกับปริมาณงานที่เข้ามา 3) ปัญหาด้านงบประมาณ 4) ปัญหาด้านการประชาสัมพันธ์th
dc.description.abstractข้อเสนอแนะสำคัญจากการศึกษาและแนวทางการพัฒนา 1) ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนได้รับรู้และรับทราบว่าศูนย์ยุติธรรมฯมีหน้าที่อย่างไร ให้ชุมชนรับทราบและเข้าใจในการดำเนินงานของศูนย์ยุติธรรมฯ 2) รัฐบาลควรช่วยในเรื่องงบประมาณลงไปในพื้นที่เพื่อเป็นขวัญกำลังใจในการทำงานของอาสาสมัครที่เข้ามาทำงานในส่วนนี้th
dc.description.abstractแนวทางการพัฒนา 1) สร้างกลไกในการพัฒนาให้ บุคลากรของศูนย์ยุติธรรมนำความรู้ใน กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ไปให้แก่นักเรียน นักศึกษา และผลักดันให้ นักเรียน นักศึกษา เหล่านั้นได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของศูนย์ยุติธรรมชุมชน 2) ควรมีการประชุมเชิงวิชาการในการ แก้ไขโดยใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กันเป็นประจำเพราะข้อมูลที่ได้มานั้นได้ถูกกลั่นกรองมาอย่างดีแล้วth
dc.format.extent138 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2015.169
dc.identifier.otherb190488th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4461th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth
dc.subject.otherกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ -- ไทยth
dc.titleทุนของสังคมในกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ : กรณีศึกษาศูนย์ยุติธรรมชุมชนพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.title.alternativeSocial capital in restorative justice : case study of Phanom Sarakham community justice centreth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการบริหารการพัฒนาสังคมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b190488.pdf
Size:
2.2 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
full text
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections