การจัดสรรการขนส่งน้ำมันดีเซล: กรณีศึกษา บริษัทน้ำมันแห่งหนึ่ง

dc.contributor.advisorกาญจ์นภา อมรัชกุลth
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ อัศวมาชัยth
dc.date.accessioned2018-07-19T04:04:34Z
dc.date.available2018-07-19T04:04:34Z
dc.date.issued2017th
dc.date.issuedBE2560th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561th
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอตัวแบบทางคณิตศาสตร์ สำหรับเป็นแนวทางในการเลือกช่องทางในการขนส่งน้ำมันไปยังสถานีน้ำมันในพื้นที่ภาคเหนือ 5 สถานี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนการขนส่งที่ประกอบด้วย ค่าขนส่ง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (ในรูปของ Carbon tax) และเวลา (ในรูปของ Value of Time) ให้น้อยที่สุด แต่ยังคงต้องตอบสนองต่อความต้องการที่เพียงพอในแต่ละสถานี ในงานวิจัยนี้เลือกช่องทางการขนส่ง 2 ช่องทางคือ ทางรถบรรทุก และทางรถไฟ และยังคงมีปัจจัยเพิ่มเติมจากช่องทางการขนส่งดังกล่าวมากมาย เช่น ชนิดของพาหนะ ความเร็วในการขับขี่ ฯลฯ แต่ในบทความนี้จะพิจารณา 2 ปัจจัยหลักคือ น้ำหนักที่ใช้ในการบรรทุก และระยะทางที่ขนส่ง โดยการนำมาประยุกต์ใช้กับตัวแบบโปรแกรมการเฟ้นสุ่มเชิงเส้นแบบสองชั้น (Two-Stage Stochastic Linear Program) โดยแบ่งข้อมูลปริมาณความต้องการในอดีตเป็นสองส่วน ส่วนแรกนำไปหาปริมาณแคร่ที่ต้องเช่าต่อปี และส่วนที่สองนำไปจัดสรรการขนส่งรวมถึงการทดสอบนโยบายใหม่ ผลจากตัวแบบพบว่านโยบายใหม่ทำให้มีต้นทุนรวมลดได้ถึง 15.43% จากนโยบายเดิมซึ่งมีต้นทุนรวมอยู่ที่ 244,559,446  บาท คงเหลือต้นทุนรวมเป็น 206,814,906 บาทth
dc.description.abstractThis thesis presents mathematical model for determining how to transport gasoline to five stations in the northern region of Thailand. The objective of this model is to minimize the total costs which consist of shipping costs, carbon tax and value of time. In addition, it also needs to satisfy demand of each station. We consider two modes of transportation, namely rail and road, and include in the model, several factors such as weight of oil and distance for transportation. The two-stage stochastic linear program is applied to determine the suitable transportation form with the right quantity of oil each day. The historical data were divided into two parts. The first was used to simulation diesel demand for determining of the appropriate bogie rentals. In second stage was used to solve transportation problems. The results showed that the new model reduced total cost up to 15.43% from 244,559,446 baht to 206,814,906 baht.th
dc.format.extent73 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb201144th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3798th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjecte-Thesisth
dc.subjectต้นทุนการขนส่งth
dc.subjectการขนส่งน้ำมันth
dc.subjectตัวแบบโปรแกรมเฟ้นสุ่มเชิงเส้นแบบสองชั้นth
dc.titleการจัดสรรการขนส่งน้ำมันดีเซล: กรณีศึกษา บริษัทน้ำมันแห่งหนึ่งth
dc.title.alternativeDiesel transportation allocation : a petroleum company case studyth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะสถิติประยุกต์th
thesis.degree.disciplineการจัดการโลจิสติกส์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b201144e.pdf
Size:
1.63 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
115 B
Format:
Plain Text
Description:
Collections