การวางแผนทางการเงินของนักเรียนมัธยมปลายในกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.advisorพาชิตชนัต ศิริพานิชth
dc.contributor.authorธนานพ ลิ่มสุวรรณโรจน์th
dc.date.accessioned2021-03-11T09:32:50Z
dc.date.available2021-03-11T09:32:50Z
dc.date.issued2019th
dc.date.issuedBE2562th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการวางแผนทางการเงินของของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร การเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีแบ่งชั้นภูมิสองขั้น (Two – stage Stratified Sampling) แบ่งเป็นเพศชาย 144 คน และ เพศหญิง 265 คน สถิติเชิงพรรณาที่นำมาใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Independent t-test One–way ANOVA และ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนส่วนมากยังมีความรู้ในเรื่องการวางแผนการเงินในระดับที่ไม่ดีเท่าที่ควร นักเรียนส่วนมากจะมีทัศนคติในเรื่องการวางแผนทางการเงินดีมาก แต่ในเรื่องพฤติกรรมในเรื่องการวางแผนทางการเงินนักเรียนส่วนมากจะมีระดับพฤติกรรมพอใช้ 2) รายได้ของนักเรียนที่มาจากการทำงาน ทัศนคติการตั้งเป้าหมายทางการเงิน การอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ในด้านการลงทุน การอบรมสั่งสอนจากเพื่อน / คนรู้จักในด้านการออม การเรียนรู้ด้วยตนเองในด้านการออม และ การเรียนรู้ด้วยตนเองในด้านการลงการลงทุน มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการวางแผนทางการเงินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ  th
dc.description.abstractThe purposes of this research are (1) to study knowledge, attitude and behavior in financial planning of upper secondary school students in Bangkok and (2) to study the influence of financial planning behaviour of upper secondary school students in Bangkok. The sample group used in this research was randomized from Two – stage stratified sampling divided into 144 males and 265 females. Statistical analysis was done in terms of percentages, t – test, one - way ANOVA, and stepwise multiple regression analysis. The research results show that (1) most of the students still had insufficient knowledge about financial planning. Most students had very good attitudes about financial planning. But in terms of behaviour in financial planning, most students had a fair level of behaviour. (2) The significant factors of the prediction in this study were income of the students from work, financial goals attitude, teaching from parents in investing, teaching from friends in saving, self-learning in investing. These factors were used in the equation of multiple regression analysis.th
dc.format.extent91 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb210810th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5135th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjecte-Thesisth
dc.subjectการวางแผนทางการเงินth
dc.subject.otherนักเรียนมัธยมศึกษาth
dc.subject.otherการเงิน -- การวางแผนth
dc.titleการวางแผนทางการเงินของนักเรียนมัธยมปลายในกรุงเทพมหานครth
dc.title.alternativeFinancial planning of high school students in Bangkokth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะสถิติประยุกต์th
thesis.degree.disciplineสถิติประยุกต์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b210810.pdf
Size:
3.27 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
115 B
Format:
Plain Text
Description:
Collections