การพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อการตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย

dc.contributor.advisorไพฑูรย์ มนต์พานทองth
dc.contributor.authorอานนท์ จันจิตรth
dc.date.accessioned2021-03-11T04:37:16Z
dc.date.available2021-03-11T04:37:16Z
dc.date.issued2020th
dc.date.issuedBE2563th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กจ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2563th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ  (1) เพื่อประเมินคุณภาพการบริการของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านคุณภาพการบริการที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทย ตัวแปรในการวิจัยประกอบด้วย ความเป็นรูปธรรมของการบริการ ความน่าเชื่อถือไว้วางใจ การตอบสนองผู้โดยสาร การให้ความมั่นใจแก่ผู้โดยสาร และความเห็นอกเห็นใจผู้โดยสาร ตัวอย่างของงานวิจัย คือ ผู้โดยสารชาวไทยที่ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2561 ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสอบถามที่สมบูรณ์จำนวน 400 ชุดได้นำมาวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า (1) คุณภาพการให้บริการในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) คุณภาพการให้บริการสามด้าน ได้แก่ ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ ด้านการให้ความมั่นใจแก่ผู้โดยสาร และด้านความเห็นอกเห็นใจผู้โดยสารมีอิทธิพลเชิงบวกต่อความตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  คือ คุณภาพการให้บริการด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ ด้านการให้ความมั่นใจแก่ผู้โดยสารและด้านความเห็นอกเห็นใจผู้โดยสารth
dc.description.abstractThe objectives of this research were  (1) to evaluate the service quality of low-cost airlines in Thailand, (2) to study service quality factors affecting the intention to repurchase of low-cost airlines in Thailand. Research variables consisted of tangibility, reliability, responsiveness, assurance, and empathy. The sample of this study was  Thai passengers who have used low-cost airlines at least 2 times in 2018. The author used questionnaires to collect data by the purposive sampling method. 400 usable questionnaires were analyzed by multiple regression analysis with the stepwise method.  The results showed  that (1) overall service quality was at the highest level, (2) three aspects of the service quality including tangibility, assurance, and empathy had a positive influence on intention to repurchase of low-cost airlines  in Thailand at the significance level at .05 consisted; service quality in tangibility, assurance and empathy.th
dc.format.extent117 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb210703th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5128th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectความตั้งใจในการใช้บริการซ้ำth
dc.subjecte-Thesisth
dc.subjectคุณภาพการบริการth
dc.subject.otherสายการบินต้นทุนต่ำth
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อการตั้งใจกลับมาใช้บริการซ้ำของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทยth
dc.title.alternativeService quality development for intention to repurchase of low-cost airline in Thailandth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะการจัดการการท่องเที่ยวth
thesis.degree.disciplineการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameการจัดการมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b210703.pdf
Size:
4.02 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
115 B
Format:
Plain Text
Description:
Collections