การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง

dc.contributor.advisorเจริญชัย เอกมาไพศาลth
dc.contributor.authorกฤษรักษ์ อยู่เจริญth
dc.date.accessioned2022-02-17T10:17:38Z
dc.date.available2022-02-17T10:17:38Z
dc.date.issued2016th
dc.date.issuedBE2559th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559th
dc.description.abstractจากเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง จำนวน 50,000 ลิตร เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ปีพ.ศ. 2556 เกิดผลกระทบอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่สำคัญรวมไปถึงภาพลักษณ์ทางการท่องเที่ยวผู้วิจัยถึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหากลุ่มปัจจัยต่อทัศนคติด้านต่าง ๆ โดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ไปสู่วิเคราะห์พฤติกรรมทางการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังวิกฤติเพื่อเปรียบเทียบ ความแตกต่างของข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ในทัศนคติต่อปัจจัยที่ทำให้เกิดการตัดสินใจซื้อบริการทางการท่องเที่ยวภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่ว หลังจากนั้นใช้การวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติกส์ (Logistic Regression) เพื่อหาความสัมพนธ์ระหว่างทัศนคติต่อปัจจัยในการกลับมาท่องเที่ยวเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง อีกคร้ัง โดยการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ใช้แบบสอบถามจำนวน 300 ชุด ใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม ผลการวิเคราะห์พบว่าเพศหญิงและเพศชายและกลุ่มอาชีพพนักงานเอกชนและอาชีพนักเรียน / นักศึกษา มีทัศนคติด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยวและด้านสิ่งอำนวยความสะดวกที่แตกต่างกัน กลุ่มอายุที่แตกต่างกันมีทัศนคติต่อด้านการบริการข่าวสาร และการโฆษณาประชาสัมพันธ์และด้านสิ่งอำนวยความสะดวกแตกต่างกัน กลุ่มระดับการศึกษาที่ แตกต่างกันมีทัศนคติต่อด้านทรัพยากรทางการท่องเที่ยว ด้านสิ่งอำนวยความสะดวกและด้านการบริการข่าวสารและการโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่แตกต่างกัน และกลุ่มรายได้ที่แตกต่างกันนั้นไม่มี ความแตกต่างกันในทัศนคติต่อปัจจัยในการตัดสินใจซื้อบริการทางการท่องเที่ยวภายหลังเหตุการณ์ น้ำมันดิบรั่ว อีกทั้งพบอีกว่า ปัจจัยดัานทรัพยากรทางการท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับการกลับมา ท่องเที่ยวซ้ำอีกคร้ังภายหลังเหตุการณ์น้ำมันรั่วบริเวณอ่าวพร้าวของนักท่องเที่ยวชาวไทยผล จากการวิจัยในคร้ังนี้จะเป็นประโยชน์ในการวางแผนและนโยบายการฟื้นฟูและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่เคยเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติหรือวิกฤติทั้งจากมนุษย์และทางธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวที่ที่ไม่เคยประสบภัยพิบัติต่อไปth
dc.format.extent151 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb193302th
dc.identifier.urib193302th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5488th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherน้ำมันรั่วไหลth
dc.subject.otherปิโตรเลียม -- ไทยth
dc.subject.otherนักท่องเที่ยว -- พฤติกรรมth
dc.subject.otherน้ำมันรั่วไหล -- การจัดการ -- ไทย -- ระยอง -- เกาะเสม็ด (อ่าวพร้าว)th
dc.titleการวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยภายหลังเหตุการณ์น้ำมันดิบรั่วบริเวณอ่าวพร้าว เกาะเสม็ด จังหวัดระยองth
dc.title.alternativeThe analysis of Thai tourists behavior after oil spilled at Ao Phrao Koh Samet Rayong, Thailandth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะการจัดการการท่องเที่ยวth
thesis.degree.disciplineการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b193302.pdf
Size:
1.5 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
Collections