การบริหารการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย

dc.contributor.advisorมาลัย หุวะนันทน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorสอาด มโนรัตน์th
dc.date.accessioned2014-05-05T09:16:59Z
dc.date.available2014-05-05T09:16:59Z
dc.date.issued1966th
dc.date.issuedBE2509th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2509.th
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งที่จะศึกษาว่าธนาคารแห่งประเทศไทยมีบทบาทบริหารงาน ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับเงินทุนพัฒนาสำหรับเอกชนในระยะพัฒนาเศรษฐกิจอย่างไรบ้างในการสนับสนุนเกื้อกูลให้มีแหล่งทุนที่เอกชนจะกู้ยืมไปลงทุนได้โดยสะดวกth
dc.description.abstractธนาคารแห่งประเทศไทย เช่นเดียวกับธนาคารในประเทศด้อยพัฒนาและประเทศที่กำลังพัฒนาอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ธนาคารเหล่านี้ยังคงประสบปัญหาต่าง ๆ ซึ่งทำให้การบริหารงานต้องล้าหลังและขาดประสิทธิภาพ ในประเทศไทยกฎหมายเกี่ยวกับธนาคารแห่งประเทศไทยไม่ได้ให้อำนาจธนาคารในการที่จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างเต็มที่ ยิ่งกว่านั้นระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ในการบริหารงานยังคงล้าสมัยไม่มีการกำหนดโครงการ ไม่มีการควบคุม และทำให้ธนาคารไม่สามารถนำมาตรการต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในประเทศอื่น ๆ มาปรับใช้ในประเทศของตน ผู้เขียนได้เสนอแนะว่ากฎหมายเกี่ยวกับธนาคารแห่งประเทศไทยควรจะได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้ทันกับความต้องการทางเศรษฐกิจ และจะต้องอำนวยผลในด้านเสริมสร้างเพิ่มพูนยิ่งขึ้นกว่าปกติเพื่อสร้างสรรและช่วยให้ประเทศและประชากรพ้นสภาพด้อยพัฒนาโดยเร็ว ขอบเขตในการแก้ไขกฎหมายได้แก่การแก้ไขเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ความเป็นอิสระ ระบบกรรมการของธนาคารกลาง สำหรับข้อเสนอแนะในเรื่องอื่น ได้แก่การสร้างเสริมและสร้างสรรเพื่อประโยชน์ต่อการลงทุน ในเรื่องนี้ผู้เขียนเสนอว่าธนาคารควรจะได้สนับสนุนเกื้อกูลทางบุคคลและวิชาการ และควรจะสร้างสรรและควบคุมทางการเงิน กล่าวคือ ช่วยปรับปรุง จัดตั้ง และช่วยออกทุนหรือหาทุนให้โดยให้กู้เพิ่มเติม รับซื้อหุ้นกู้ และใช้อำนาจหน้าที่ควบคุมจัดสรรเงินจากสถาบันเงินออมต่าง ๆ ให้มาร่วมทุนหรือให้กู้ยืมอีก และเสนอแนะให้รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และองค์การบริหารท้องถิ่นรูปต่าง ๆ นำเงินมาฝากไว้ที่สถาบันเงินทุน ซึ่งทำหน้าที่แจกจ่ายทุนเพื่อการพัฒนา นอกจากนี้ผู้เขียนยังเห็นว่าควรจะมีมาตรการในการควบคุมทางการเงินเพื่อลงทุน ซึ่งการควบคุมนี้ส่วนใหญ่หมายถึงการควบคุมธนาคารพาณิชย์ และในประการสุดท้ายก็คือ ธนาคารกลางควรจะริเริ่มจัดให้มีการวิจัยทางการเงินเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย.th
dc.format.extent184 หน้า.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1013th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjectการบริหารการเงินth
dc.subjectเงินทุนth
dc.subjectการคลังth
dc.subject.lccHG 3355.5 ส19th
dc.subject.otherธนาคารแห่งประเทศไทยth
dc.titleการบริหารการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทยth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะรัฐประศาสนศาสตร์th
thesis.degree.disciplineรัฐประศาสนศาสตร์th
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b8077.pdf
Size:
3.19 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections