การเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าปริมาณน้ำฝนรายวัน ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บริเวณพื้นที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยา

dc.contributor.advisorจินตนา อมรสงวนสิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth
dc.contributor.authorสัญชัย เอี่ยมประเสริฐth
dc.date.accessioned2014-05-05T09:26:58Z
dc.date.available2014-05-05T09:26:58Z
dc.date.issued2011th
dc.date.issuedBE2554th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011th
dc.description.abstractการศึกษาการเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าปริมาณน้ำฝนรายวันด้วยระบบ สารสนเทศภูมิศาสตรบริเวณพื้นที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยามีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความถูกต้อง ของวิธีการประมาณค่าปริมาณน้ำฝนรายวันด้วยวิธีที่แตกต่างกันโดยในการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการ ประมาณค่าจำนวน 5 วิธีหลัก 34 วิธีย่อยได้แก่วิธี Inverse Distance Weight, Radial Basis Functions, Kriging, CoKriging และสมการถดถอยเชิงเส้นของข้อมูลเรดาร์(RADAR) โดยใช้ข้อมูล ปริมาณน้ำฝนรายวันจากสถานีวัดน้ำฝนจำนวน 247 สถานีครอบคลุมพื้นที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยา และข้อมูลเรดาร์สถานีตรวจวัดอากาศตาคลีจังหวดนครสวรรค์ ราย 6 นาทีทดสอบความถูกตองใน การประมาณค่าด้วยข้อมูลน้ำฝนรายวันจากสถานีวัดน้ำฝนตัวอย่างจํานวน 60 สถานีโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (Mean Absolute Error; MAE) และความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่าวิธีสมการถดถอยเชิงเส้นของข้อมูลเรดาร์ให้ค่าเฉลี่ยความ คลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAE) น้อยที่สุดเท่ากับ 5.81 มิลลเมตร และจากการทดสอบสถิติรายค่า F-test ด้วยวิธี LSD พบว่าวิธีดังกล่าวมีค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์น้อยกว่าวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.1) ) ส่วนผลการศึกษาเฉพาะวิธีการประมาณค่าที่ใช้ค่าสถิติพียงอย่างเดียว ได้แก่วิธีInverse Distance Weight, Radial Basis Functions แล Kriging พบว่าวิธี Kriging ฟังก์ชัน Stable มีค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนสมบูรณ์ (MAE) น้อยที่สุดเท่ากับ 8.35 มิลลเมตรแต่ จากการทดสอบสถิติรายค่า F-test ด้วยวิธี LSD พบว่าความคลาดเคลื่อนดังกล่าวแตกต่างอย่างไม่มี นัยสำคญทางสถิติ (p>0.1) จากผลการศึกษาจึงพบว่าการประยุกต์ใช้ข้อมูลเรดาร์ในการประมาณค่าปริมาณน้ำฝน รายวันสําหรับพื้นที่ราบจึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดth
dc.format.extent148 แผ่น ; 30 ซม.th
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2011.60
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2027th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.lccQC 925.5 .T5 ส113 2011th
dc.subject.otherน้ำฝน -- ไทย -- การวัดth
dc.titleการเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าปริมาณน้ำฝนรายวัน ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บริเวณพื้นที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยาth
dc.title.alternativeComparison of spatial daily rainfall amount interpolation methods by using geographic information system at Chao-Phra-Ya Flood Plainth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.disciplineการจัดการสิ่งแวดล้อมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
nida-ths-b174615.pdf
Size:
30.03 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
Full Text
Collections