คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานในแผนกงานส่วนหน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร
Publisher
Issued Date
2014
Issued Date (B.E.)
2557
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
111 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b189673
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กฤษฏิ์ วิภาสสุวรรณ (2014). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานในแผนกงานส่วนหน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3873.
Title
คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานในแผนกงานส่วนหน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Quality of work life of employees in front office department of five-star hotel in Bangkok
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสถานภาพส่วนบุคคลของพนักงานในแผนก
งานส่วนหน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิต
ในการทำงานของพนักงานในแผนกงานส่วนหน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร
3) เพื่อศึกษาหาแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานในแผนกงานส่วน
หน้าของโรงแรมระดับ 5 ดาวในเขตกรุงเทพมหานคร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานที่อยู่ในแผนกงานส่วนหน้าที่ปฏิบัติงานอยู่ใน ตำแหน่ง Front Office Supervisor, Receptionist, Telephone Operator, Bell Boy และ Concierge จำนวน 308 คน ที่มีสัญชาติไทยและมีอายุการทำงานในแผนกงานส่วนหน้ามากกว่า 1 ปี ในโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 แห่ง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือและได้รับ แบบสอบถามที่สมบูรณ์กลับมาจำนวน 281 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.23 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐาน ใช้การทดสอบ ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตทั้ง 7 ด้านของพนักงานส่วนหน้าโดยรวมอยู่ในระดับ ดี แต่เมื่อนำผลการวิจัยมาพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าคุณภาพชีวิตด้านค่าตอบแทนที่ยุติธรรมเพียงพอ อยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ด้านอื่นๆ อยู่ในระดับ ดี ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า พบว่า รายได้ที่แตกต่างกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.021 ในขณะที่ปัจจัยทางด้านอายุ สถานภาพ และอายุการทำงานใน แผนกงานส่วนหน้าที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกัน
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานที่อยู่ในแผนกงานส่วนหน้าที่ปฏิบัติงานอยู่ใน ตำแหน่ง Front Office Supervisor, Receptionist, Telephone Operator, Bell Boy และ Concierge จำนวน 308 คน ที่มีสัญชาติไทยและมีอายุการทำงานในแผนกงานส่วนหน้ามากกว่า 1 ปี ในโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 แห่ง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือและได้รับ แบบสอบถามที่สมบูรณ์กลับมาจำนวน 281 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.23 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนการทดสอบสมมติฐาน ใช้การทดสอบ ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพชีวิตทั้ง 7 ด้านของพนักงานส่วนหน้าโดยรวมอยู่ในระดับ ดี แต่เมื่อนำผลการวิจัยมาพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าคุณภาพชีวิตด้านค่าตอบแทนที่ยุติธรรมเพียงพอ อยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ด้านอื่นๆ อยู่ในระดับ ดี ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า พบว่า รายได้ที่แตกต่างกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.021 ในขณะที่ปัจจัยทางด้านอายุ สถานภาพ และอายุการทำงานใน แผนกงานส่วนหน้าที่แตกต่างกันไม่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่แตกต่างกัน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557