Browsing by Title
Now showing items 3263-3282 of 4192
-
ภาคต่อไปของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วย Thailand 4.0
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2018-11-19)
เศรษฐกิจไทยในปีหน้าจะมีความเปราะบางมาก และปัญหาที่สำคัญสำหรับเศรษฐกิจไทยจะเป็นเรื่องของการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจทั้งในแง่ของเสถียรภาพของการเติบโตทางเศรษฐกิจและเสถียรภาพทางด้านราคา -
ภาคีความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนกับประสิทธิผลของนโยบายส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานหมุนเวียน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ภาพอนาคตของคุณภาพการศึกษาไทยแบบไหนที่เราต้องการ?
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2016-01-11)
คุณภาพของการศึกษาเป็นหัวใจสำคัญ ซึ่งปัจจุบันไทยใช้ทรัพยากรจำนวนมากในการพัฒนาการศึกษาของประเทศเพื่อให้มีคุณภาพ พบว่าช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ไทยใช้งบด้านการศึกษาไปแล้วกว่า 4 แสนล้านบาท แต่น่าตกใจว่าคุณภาพการศึกษาจากหลายๆ ค่าย กลับออกมาไม่มีคุณภาพที่ดีตามทรัพยากรที่ทุ่มเทลงไป -
ภารกิจรัฐบาลใหม่ สร้างเศรษฐกิจยั่งยืน
(เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป, 2019-03-25)
เศรษฐกิจของประเทศกำลังมีแนวโน้มลดต่ำลง ภาวะหนี้ภาคครัวเรือนอยู่ในระดับสูงด้วยสัดส่วนหนี้ครัวเรือนจากสถาบันการเงินต่อ GDP ที่ประมาณ 78.3% ในขณะที่ภครัฐมีมูลค่าหนี้คงค้างอยู่ถึง 6.8 ล้านล้านบาท และมีสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ประมาณ 41.2% รัฐบาลชุดใหม่ควรที่จะต้องมีทั้งนโยบายระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว รวมทั้งควรที่จะต้องเป็นนโยบายที่ต้องตอบโจทย์เฉพาะกลุ่มไปพร้อมกัน รัฐบาลจะต้องเตรียมการและมีนโยบายในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในประเด็นที่เร่งด่วน และที่จะละเลยไม่ได้ คือ นโยบายหรือมาตรการในการเพิ่มรายได้ให้กับภาครัฐเอง เพื่อให้การดำเนินนโยบายต่างๆ ... -
ภารกิจและวิกฤตที่ทรัพยากรมนุษย์ต้องทบทวนก่อนถึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558
(วารสารนักบริหาร. 33,4 (ต.ค.-ธ.ค. 2556) 64-71, 2013) -
ภาระภาษีที่คนไทยต้องแบกรับ (ตอนจบ)
(โพสต์ พับลิชชิง, 2014-12-22)
ระบบเศรษฐกิจไทยนั้นมีช่องโหว่ หรือรูรั่วในการจัดเก็บภาษีมากจนกระทั่งหลายคนเปรียบเปรยว่า คนที่มีฐานะดี มีความมั่งคั่งมาก กลับมีภาระต้องเสียภาษีน้อยกว่าคนที่มีรายได้น้อยกว่า เพราะมีช่องทางในการหลีกเลี่ยงภาษีได้น้อยกว่า ปัญหาความเหลื่อมล้ำของภาระภาษีอากรนี้ อาจสร้างความเสียหายในเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจของไทยที่ดูเหมือนภาระส่วนใหญ่จะมาตกอยู่กับกลุ่มคนชั้นกลาง ในบรรยากาศของการปฏิรูปขณะนี้ น่าจะเป็นโอกาสอันดีที่เราจะประเมินภาระทางภาษีที่ประชาชนต้องแบกรับกันจริงๆว่า มันหนักเกินไปแล้วหรือไม่ -
ภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลองค์การของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร : ตัวแบบสมการโครงสร้าง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ภาวะผู้นำกับผลการปฏิบัติงานของทีมในผู้ต้องขังโครงการชีววิถีเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาเรือนจำชั่วคราวเขาพลอง สังกัดเรือนจำจังหวัดชัยนาท
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012); -
ภาวะผู้นำของคณะกรรมการพัฒนาสตรีตำบล (กพสต) : ศึกษาเฉพาะกรณีอำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993);
การศึกษานี้มุ่งวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับ "ภาวะผู้นำ" ของ กพสต. ในการดำเนินงานพัฒนาสตรี โดยศึกษาจาก กพสต. (59 คน) กพสม. (30 คน) และกลุ่มสตรี (83 คน) จากตำบลบ้านปิน ตำบลบ้านถ้ำ และตำบลหนองหล่ม อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา จำนวนรวมทั้งสิ้น 172 คน รวบรวมแนวคำถามสัมภาษณ์จากผู้ให้สัมภาษณ์ได้จำนวน 163 คน ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์และใช้วิธีการสถิติพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการสรุปลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา นอกจากนั้นยังใช้วิธีการสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียวเพ ... -
ภาวะผู้นำของพระสงฆ์ในการบริหารการพัฒนาชุมชน : กรณีศึกษาพระครูโพธิวีรคุณ วัดโพธิการาม ตำบลโพนสูง อำเภอปทุมรัตน์ จังหวัดร้อยเอ็ด
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012); -
ภาวะผู้นำทางการบริหารของนายกเทศมนตรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1966);
ความมุ่งหมายของการศึกษาเพื่อทราบพฤติกรรมทางการบริหารของนายกเทศมนตรีว่ามีอยู่ในลักษณะเช่นไร โดยผู้เขียนได้กำหนดหัวข้อศึกษาออกเป็น 4 ประการ คือ ภาวะผู้นำที่เกี่ยวกับการปกครองบังคับบัญชาและการควบคุมงานของเทศบาล -
ภาวะผู้นำแบบพัฒนา การจัดการความสุขแบบเป็น-อยู่-คือ และความสุขในการทำงาน กรณีศึกษา : องค์การสร้างสุข
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013); -
ภาวะผู้นำและแนวทางการจัดการการพัฒนาตำบลของนายกองค์การบริหารส่วนตำบล
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008); -
ภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลขององค์การ : กรณีศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011); -
ภาวะสุขภาพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงเรียนในเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2008); -
ภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน : การศึกษาสำรวจปัจจัยและผลกระทบของนโยบายสาธารณสุขมูลฐานในเขต 1 ของสาธารณสุข
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1993);
การศึกษาวิจัยเรื่อง ภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน: การศึกษาสำรวจปัจจัยและผลกระทบของนโยบายสาธารณสุขมูลฐานในเขต 1 ของสาธารณสุข มุ่งที่จะตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรสาเหตุ ได้แก่ กิจกรรมสาธารณสุขมูลฐาน การปรับระบบบริการให้รองรับงานสาธารณสุขมูลฐาน การมีส่วนร่วมของประชาชน และความรู้ในการป้องกันโรค ที่มีต่อตัวแปรผล คือ ภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยใช้กรอบแนวทางการศึกษาทฤษฎีของการสาธารณสุขมูลฐานและแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน -
ภาษาฟอร์แทรนแบบโครงสร้าง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1977);
การทำวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ขึ้นใหม่ โดยภาษานี้มีคุณสมบัติเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย และสะดวกต่อการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรม แม้ว่าโปรแกรมจะถูกเขียนขึ้นเป็นเวลานานแล้วก็ตาม ผู้เขียนโปรแกรมคนเดิมหรือผู้อื่นที่ไม่มีส่วนร่วมเขียนโปรแกรมนี้มาก่อนก็สามารถทำความเข้าใจ แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมได้โดยง่าย. -
ภาษาอังกฤษกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่ความเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2015
(วารสารนักบริหาร. 31, 4 (ต.ค.- ธ.ค. 2554) 34-40, 2011) -
ภาษิตไท-ลาว
(มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะมนุษยศาสตร์, 2002)
คำว่า ภาษิต หรือ สุภาษิต มีความหมายอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้แล้วจะมีการแบ่งออกเป็นหลายหมวดหลายหมู่ด้วยกัน ในภาษาไทยกลางมีคำว่า ภาษิต สำนวนโวหาร สำบัดสำนวน คำคม คำพังเพย ฯลฯ ในภาษาของกลุ่มชนชาติไท-ลาวก็มีการแยกแยะเช่นกัน ในล้านช้างและภาคอีสานของประเทศไทยนิยมใช้คำว่า ภาษิตบูราน โตงโตยภาษิต และผญา ในล้านนามักใช้คำว่า คำบ่าเก่า คำก้อมพื้นเมือง และภาษิตคำเมืองเหนือ ที่เชียงตุงมักจะเรียกคำโบราณ และในสิบสองพันนา คำบัวราณ ชาวไทใหญ่มักใช้คำว่า ความกับถูก และชาวไทเหนือ คำกับถูก -
ภาษีกับการเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค
(สำนักพิมพ์บางกอกโพสต์, 2017-03-20)
บทเรียนในอดึตที่ผ่านมาจากการใช้มาตรการภาษีเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค จะเห็นว่าลำพังภาษีอย่างเดียวไม่พอที่จะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคได้ ในที่สุดมาตรการภาษีที่นำมาใช้จึงมีผลสำคัญเพียงแค่เป็นแหล่งในการจัดเก็บรายได้ของภาครัฐ และพยายามที่จะจัดเก็บรายได้เพิ่มมากขึ้น ทั้งที่การเพิ่มขึ้นของรายได้หมายถึงการเพิ่มขึ้นของการบริโภค ซึ่งไม่สอดคล้องกับเป้าหมายของมาตรการในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค