Browsing by Author "ประพิน นุชเปี่ยม"
Now showing items 1-4 of 4
-
The Development of Legal Framework to Promote Social Enterprises in Thailand
Maneerat Channew; มณีรัตน์ จันทร์หนิ้ว; Prapin Nuchpiam; ประพิน นุชเปี่ยม; National Institute of Development Administration. The Graduate School of Law; Prapin Nuchpiam; ประพิน นุชเปี่ยม (National Institute of Development Administration, 3/6/2022)
Social Enterprise is one kind of operation in business sense that society is the main objective. Thus, Social Enterprise is an association of profit and non-profit organizations which is also known as hybrid organization (Hybrid). Such organization leads to a problem of vagueness or legal status within the organization. Consequently, there are two types of development providing legal status for Social Enterprise that occurred; which are Social Enterprise registration system and Commercial registration system that are provided for each country to ... -
ปัญหากฎหมายในการเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์โดยอ้อม
นิติวัชญ์ ยุติธรรมวงษ์; ประพิน นุชเปี่ยม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้วัตถุประสงค์ในการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยอ้อม เพื่อให้ผู้ที่ต้องการนำบริษัทเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกรูปแบบการเข้าจดทะเบีบนกับตลาดหลักทรัพย์ และอีกประเด็นที่ผู้เขียนสนใจศึกษาคือ หลักเกณฑ์การเข้าจดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์โดยอ้อมของประเทศไทย และ ต่างประเทศเพื่อหาแนวทางในการแก้ไข และนำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทที่เกิดขึ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยศึกษากรณีปัญหาที่เกิดขึ้นต่างๆจากบริษัทที่จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์โดยอ้อ ... -
ปัญหาการบังคับจำนองเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาบังคับคดี
ธีระพล พิมลกิจรักษ์; ประพิน นุชเปี่ยม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
การบังคับจำนองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ป.พ.พ.) เป็นการใช้สิทธิที่มีอยู่ของผู้รับจำนอง แต่การใช้สิทธิของผู้รับจำนองเมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาบังคับคดีไปแล้ว ไม่สามารถทำได้ แม้ความเป็นทรัพยสิทธิยังคงมีอยู่ ตามแนวคำพิพากษาฎีกา (ประชุมใหญ่) ทำให้เกิดประเด็นปัญหาทางกฎหมายถึงการรองรับความเป็นทรัพยสิทธิจำนองตาม ป.พ.พ. ว่าสิทธิจำนองเป็นทรัพยสิทธิหรือไม่ และปัญหาว่าการบังคับจำนองตาม ป.พ.พ. เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาบังคับคดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งไปแล้ว จะสามารถบังคับจำนองได้หรือไม่ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงศึกษาถึงหลักการและแนวคิดว่าด้วยความเป็นทรัพ ... -
แนวทางในการปรับปรุงเพิ่มเติมแบบสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด (อ.ช.22) เพื่อการบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อความเป็นธรรมแก่ผู้บริโภค
ศุภศักดิ์ พรหมโมเมศ; ประพิน นุชเปี่ยม (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
ปัจจุบันภาครัฐจะเข้ามากำกับดูแลการซื้อขายห้องชุด โดยกำหนดให้ธุรกิจซื้อขายห้องชุดต้องทำสัญญาตามแบบที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้เกิดเป็นธรรมแก่ผู้บริโภคและป้องกันการถูกเอารัดเอาเปรียบของผู้บริโภคจากการเข้าทำสัญญากับผู้ประกอบการ ซึ่งมักมีอำนาจต่อรองมากกว่า คณะกรรมการว่าด้วยสัญญาจึงได้มีประกาศให้ธุรกิจขายห้องชุดเป็นธุรกิจที่ควบคุมสัญญา และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยได้กำหนดแบบสัญญามาตรฐาน สำหรับการทำสัญญาจะซื้อจะขายห้องชุด (อ.ช.22) มาใช้บังคับ ตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม แม้จะมีแบบสัญญามาตรฐาน หรือ อ.ช.22 ดังกล่าว แต่ผู้บริโภคยั ...