Browsing by Author "สมบัติ กุสุมาวลี"
Now showing items 1-4 of 4
-
การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคประเทศไทย 4.0กรณีศึกษา: สถาบันการเงินประเภทธนาคาร
วิริยา ลีลาสุธานนท์; สมบัติ กุสุมาวลี (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2018)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทิศทางและแนวโน้มการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันการเงินประเภทธนาคารในยุคประเทศไทย 4.0 และเพื่อศึกษาแนวทางการเตรียมความพร้อมบุคลากรในฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันการเงินประเภทธนาคารเพื่อก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0 ระเบียบวิธีวิจัยที่ผู้วิจัยเลือกใช้ คือ การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้บริหารฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันการเงินประเภทธนาคาร จำนวน 5 คน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 2 คน โดยทำการวิเค ... -
ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์การมหาชน
สุดปราโมทย์ วัฒนรัตน์; สมบัติ กุสุมาวลี (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2017)
การศึกษาคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับบรรยากาศองค์การและคุณภาพชีวิตใน การทำงานของพนักงานองค์การมหาชน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การกับ คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์การมหาชน 3) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ในการพัฒนาบรรยากาศองค์การและคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานองค์การมหาชนโดย เป็นการวิจยัแบบผสมผสาน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถามจากพนักงานองค์การ มหาชนกลุ่ม 2 จำนวน 7 องค์การจำนวนแบบสอบถามที่แจกทั้งสิ้น 510 ชุด ซึ่งได้รับแบบสอบถาม ตอบกลับ จำนวน 353 ชุด คิดเป็นร้อยละ 69.22 และเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ก ... -
บทบาทของบรรษัทข้ามชาติกับการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีของวิศวกรไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
สมบัติ กุสุมาวลี; ชาติชาย ณ เชียงใหม่, อาจารย์ที่ปรึกษา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 1994) -
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การกับการแลกเปลี่ยนความรู้ของพนักงานซ่อมบารุงอากาศยาน บริษัทมหาชน
อิสรภาพ สาลี; สมบัติ กุสุมาวลี (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2013)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง และทดสอบ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และพฤติกรรมย่อยของ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ 5 พฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมการช่วยเหลือผู้อื่น พฤติกรรมการคา นึงถึงผู้อื่น พฤติกรรมการอดทนอดกลั้น พฤติกรรมการให้ความร่วมมือ และ พฤติกรรมการสานึกในหน้าที่ ที่ส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนความรู้ กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานซ่อม บา รุงอากาศยานบริษัทมหาชนแห่งหนึ่ง จา นวน 336 คน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 3 ฉบับ ได้แก่ ...