Browsing by Author "สำนักบรรณสารการพัฒนา"
Now showing items 1-20 of 56
-
14 ตุลาคม ประชาชน ประชาธิปไตย
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-08)
พ.ศ.2510 ประเทศไทยตกอยู่ภายใต้การปกครองระบอบเผด็จการ มีการสืบทอดอำนาจ ทุจริต คอร์รัปชัน สร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชนมาโดยตลอด สถานการณ์ทวีความตึงเครียดมากยิ่งขึ้น เมื่อนักศึกษากลุ่มหนึ่งแจกใบปลิวเรียกร้องรัฐธรรมนูญ และถูกจับกุมและนำไปสู่การชุมนุมใหญ่ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายจีระ บุญมาก นักศึกษาปริญญาโทของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เข้าร่วมชุมนุมและถูกยิงเสียชีวิตที่หน้ากรมประชาสัมพันธ์ หลังเก่าบนถนนราชดำเนิน ชื่อของ นายจีระ บุญมาก และผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์ กลายเป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้ และได้รับการยกย่องเป็นวีรชนประชาธิปไตยตราบจนทุกวันนี้ -
The Royal Guidance of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej in the graduation ceremony of National Institute of Development Administration.
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)
The Royal Guidance of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej in the graduation ceremony of National Institute of Development Administration. -
การขยายโอกาสทางการศึกษา
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
สถาบันได้เปิดมิติใหม่ทางการศึกษาในปี พ.ศ.2530 เมื่อคณะรัฐประศาสนศาสตร์เปิดหลักสูตรปริญญาโทภาคพิเศษสำหรับนักบริหาร ทำการสอนนอกเวลาราชการเพื่อให้ผู้ที่ไม่สามารถมาเรียนในเวลาปกติได้มีโอกาสศึกษาต่อในปีต่อมา คณะต่างๆ ได้เปิดการเรียนการสอนภาคพิเศษในกรุงเทพมหานครมากขึ้น -
การฝึกอบรมเพื่อการพัฒนา
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
ในยุคเริ่มต้นของการก่อตั้งสถาบันมีหน่วยราชการไม่กี่แห่งที่ฝึกอบรมนักบริหารระดับสูงซึ่งสถาบันดำเนินการฝึกอบรมโดยคณะและสำนักในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องใน พ.ศ.2555 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานชื่อใหม่แก่สำนักฝึกอบรมว่า "สำนักสิริพัฒนา” หมายถึง สำนักที่มีหน้าที่จัดการพัฒนาอันดียิ่งเป็นสิริมงคลอย่างหาที่เปรียบมิได้แก่สถาบัน และเจ้าหน้าที่ทุกคน -
การวิจัยเพื่อต่อยอดความรู้
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
การวิจัย เป็นสิ่งจำเป็นและขาดไม่ได้ในสถาบันการศึกษาระดับสูง และเป็นการเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ทำวิจัย สถาบันเล็งเห็นความสำคัญของการวิจัยได้จัดตั้งกองทุนส่งเสริมงานวิจัยเพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคลากรทั้งคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ให้ -
การศึกษาระดับปริญญาเอกและวิทยาลัยนานาชาติ
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-12)
การเปิดสอนระดับปริญญาเอกและวิทยาลัยนานาชาติของสถาบันซึ่งเป็นการเตรียมพร้อมรับการพัฒนาในระดับภูมิภาคเช่นAECและในระดับโลกต่อไปในอนาคต -
กำเนิดนิด้า
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-08)
กำเนิดนิด้า สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ -
ของที่ระลึก 1 : Indianensis Universitatis Singillum
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-04)
ของที่ระลึกจาก Indianensis Universitatis Singillum -
ของที่ระลึก 2 : Indianensis Universitatis Singillum
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-04)
ของที่ระลึกจาก Indianensis Universitatis Singillum -
ของที่ระลึก 3 : Indianensis Universitatis Singillum
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-04)
ของที่ระลึกจาก Indianensis Universitatis Singillum -
ของที่ระลึกงานเปิดพิพิธภัณฑ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-04)
ของที่ระลึกงานเปิดพิพิธภัณฑ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ -
เข็มกลัดเน็กไทสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)
เข็มกลัดเน็กไทสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ , ผู้บริจาควัตถุ : คุณวิริยะ โฆษิตานนท์ -
ค้นหา ยกระดับ โฆษณาไทย
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
เมื่อวงการโทรทัศน์พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว ภาพยนตร์โฆษณามีผลกระทบต่อสังคมมากขึ้น สถาบันการศึกษา 3 แห่ง ได้แก่ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และคณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รวบรวมภาพยนตร์โฆษณา 10 เรื่องเด่นในแต่ละปี เพื่อเขียนเป็นบทความลงในวารสาร ต่อมาได้พัฒนาจนกลายเป็นการประกวดโฆษณายอดเยี่ยมประจำปี2519 และใน พ.ศ.2524 ได้ขยายเป็นการประกวดโฆษณายอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย หรือ TACT Award -
ค้นหา สืบเสาะ รวบรวม ศูนย์ข่าวจีระ บุญมาก
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-09)
เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2535 ประชาชนชุมนุมขับไล่เผด็จการบนถนนราชดำเนิน เหตุการณ์ทวีความรุนแรงและจบลงด้วยการสลายการชุมนุมในคืนวันที่ 17 พฤษภาคม หลังจากนั้นมีผู้ร่วมชุมนุมบาดเจ็บ ถูกจับกุมและสูญหาย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ได้จัดตั้ง “ศูนย์ข่าว จีระ บุญมาก”เพื่อเป็นศูนย์ประสานงานในการสืบหาคนหาย โดยให้เจ้าหน้าที่ของสถาบันเป็นอาสาสมัครตลอด24ชั่วโมง -
ค่าFTคำนวณค่าไฟฟ้าด้วยราคาเป็นธรรม
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2021-11)
ในอดีตการไฟฟ้าคิดอัตราค่าไฟฟ้าจากต้นทุนการผลิตและกำไรโดยมีมติคณะรัฐมนตรีประกาศขึ้นค่าไฟฟ้าทุกครั้งแต่ในทศวรรษ2520ราคาน้ำมันในตลาดโลกสูงขึ้นอย่างรวดเร็วส่งผลให้ประเทศไทยต้องประกาศขึ้นค่าไฟฟ้าหลายครั้งรศ.ดร.วิชิตหล่อจีระชุณห์กุลและรองศาสตราจารย์ดร.ธีระพงษ์วิกิตเศรษฐได้เสนอสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ(Ft)ซึ่งเป็นวิธีการคำนวณที่ปรับเปลี่ยนไปตามต้นทุนที่แท้จริงเพื่อให้สามารถปรับค่าไฟฟ้าได้ทันการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของราคาเชื้อเพลิง -
โครงการ NIDA Smart Compact City (1)
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)
โครงการ NIDA Smart Compact City เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นรูปแบบการพัฒนาเมืองที่มีทรัพยากรจำกัดและก่อให้เกิดปัญหา นำไปสู่การส่งเสริมให้ชุมชนเมืองมีระบบการขนส่งและการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ประกอบกับการนำเทคโนโลยีมาช่วยบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งนิด้าได้นำแนวคิดเมืองอัจฉริยะมาปรับใช้ภายในสถาบันทั้งหมด 8 มิติ ได้แก่ 1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) 2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) 3. ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) 4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) 5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart ... -
โครงการ NIDA Smart Compact City (2)
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)
โครงการ NIDA Smart Compact City เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นรูปแบบการพัฒนาเมืองที่มีทรัพยากรจำกัดและก่อให้เกิดปัญหา นำไปสู่การส่งเสริมให้ชุมชนเมืองมีระบบการขนส่งและการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ประกอบกับการนำเทคโนโลยีมาช่วยบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งนิด้าได้นำแนวคิดเมืองอัจฉริยะมาปรับใช้ภายในสถาบันทั้งหมด 8 มิติ ได้แก่ 1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) 2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) 3. ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) 4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) 5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart ... -
โครงการ NIDA Smart Compact City (3)
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)
โครงการ NIDA Smart Compact City เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นรูปแบบการพัฒนาเมืองที่มีทรัพยากรจำกัดและก่อให้เกิดปัญหา นำไปสู่การส่งเสริมให้ชุมชนเมืองมีระบบการขนส่งและการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ประกอบกับการนำเทคโนโลยีมาช่วยบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งนิด้าได้นำแนวคิดเมืองอัจฉริยะมาปรับใช้ภายในสถาบันทั้งหมด 8 มิติ ได้แก่ 1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) 2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) 3. ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) 4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) 5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart ... -
โครงการ NIDA Smart Compact City (4)
สำนักบรรณสารการพัฒนา (สำนักบรรณสารการพัฒนา, 2022-03)
โครงการ NIDA Smart Compact City เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นรูปแบบการพัฒนาเมืองที่มีทรัพยากรจำกัดและก่อให้เกิดปัญหา นำไปสู่การส่งเสริมให้ชุมชนเมืองมีระบบการขนส่งและการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ประกอบกับการนำเทคโนโลยีมาช่วยบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งนิด้าได้นำแนวคิดเมืองอัจฉริยะมาปรับใช้ภายในสถาบันทั้งหมด 8 มิติ ได้แก่ 1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) 2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) 3. ชุมชนอัจฉริยะ (Smart Community) 4. สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) 5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart ...