การบริหารงานคลังของสถานสงเคราะห์เอกชนในเขตจังหวัดพระนคร-ธนบุรี
Publisher
Issued Date
1968
Issued Date (B.E.)
2511
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
109 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
โกวิท กลิ่นเกษร (1968). การบริหารงานคลังของสถานสงเคราะห์เอกชนในเขตจังหวัดพระนคร-ธนบุรี. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1026.
Title
การบริหารงานคลังของสถานสงเคราะห์เอกชนในเขตจังหวัดพระนคร-ธนบุรี
Alternative Title(s)
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ศึกษาถึงการบริหารงานคลังของสถานสงเคราะห์เอกชนในเขตจังหวัดพระนครและธนบุรี สภาพและปัญหา แนวทางการแก้ปัญหาการบริหารงานคลังของสถานสงเคราะห์เอกชน รูปแบบของกองทุน หน้าที่ ความรับผิดชอบและระเบียบวิธีการบริหารงานกองทุนชุมชน
ปัญหาใหญ่ของสถานสงเคราะห์ คือความบกพร่องในการจัดทำงบประมาณ และสถานสงเคราะห์เอกชนเหล่านี้รายได้ต่ำไม่เพียงพอต่อการดำเนินการ มีเพียงบางองค์การที่มีเงินเหลือจ่าย การควบคุมตรวจสอบการใช้จ่ายและการรายงานฐานะทางการเงินยังไม่รัดกุม การเรี่ยไรหาทุนจำกัดอยู่กับคนบางกลุ่มเท่านั้น ซึ่งก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้บริจาค สถานสงเคราะห์ได้หาทางจะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว แต่เท่าที่ได้ทำมาเป็นการแก้ปัญหาระยะสั้นเท่านั้น สำหรับการแก้ไขปัญหาระยะยาวนั้นอาจทำได้โดยดำเนินการเป็น 3 ระยะคือ
1. แก้ไขปรับปรุงการบริหารงานคลังทั้งโดยสถานสงเคราะห์และสภาสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ
2. สภาสังคมสงเคราะห์แห่งชาติและกรมประชาสงเคราะห์ควรจะร่วมมือกันเผยแพร่ระบบงานหาทุนของกองทุนชุมชนให้แพร่หลาย และ
3. สถานสงเคราะห์เอกชนควรเปลี่ยนวิธีการหาทุนเสียใหม่ หรือลดการรบกวนประชาชน เช่น ดำเนินการร่วมกันหาทุนปีหนึ่งครั้ง หนึ่งหรือสองครั้ง.
ปัญหาใหญ่ของสถานสงเคราะห์ คือความบกพร่องในการจัดทำงบประมาณ และสถานสงเคราะห์เอกชนเหล่านี้รายได้ต่ำไม่เพียงพอต่อการดำเนินการ มีเพียงบางองค์การที่มีเงินเหลือจ่าย การควบคุมตรวจสอบการใช้จ่ายและการรายงานฐานะทางการเงินยังไม่รัดกุม การเรี่ยไรหาทุนจำกัดอยู่กับคนบางกลุ่มเท่านั้น ซึ่งก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายแก่ผู้บริจาค สถานสงเคราะห์ได้หาทางจะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าว แต่เท่าที่ได้ทำมาเป็นการแก้ปัญหาระยะสั้นเท่านั้น สำหรับการแก้ไขปัญหาระยะยาวนั้นอาจทำได้โดยดำเนินการเป็น 3 ระยะคือ
1. แก้ไขปรับปรุงการบริหารงานคลังทั้งโดยสถานสงเคราะห์และสภาสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ
2. สภาสังคมสงเคราะห์แห่งชาติและกรมประชาสงเคราะห์ควรจะร่วมมือกันเผยแพร่ระบบงานหาทุนของกองทุนชุมชนให้แพร่หลาย และ
3. สถานสงเคราะห์เอกชนควรเปลี่ยนวิธีการหาทุนเสียใหม่ หรือลดการรบกวนประชาชน เช่น ดำเนินการร่วมกันหาทุนปีหนึ่งครั้ง หนึ่งหรือสองครั้ง.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2511.